วันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 5 วิถีวิจัย : ทศวรรษ ที่ 5 สู่ความเป็นเลิศ ตติยา คำทิพย์, ฐิติพร ก้านบัว, พนิตนันท์ สิทธิมูล,

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานคอมพิวเตอร์.
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
ศึกษาอัตราส่วนการพ่นเชื้อรา Trichoderma ที่มีผลต่อการอยู่รอดของกิ่งปักชำ โดยควบคุมด้วยความชื้นในวัสดุปลูก (Group) โรงเรียน ปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.

เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สัมนาเรื่อง “ เราได้อะไรจากสำมะโนอุตสาหกรรม พ. ศ. 2550” หัวข้อบรรยาย ประโยชน์ของข้อมูลจากสำมะ โนอุตสาหกรรม สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม.
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
บทบาทและปัญหา เทคโนโลยีในประเทศไทย Roles and Problems of Technology in Thailand ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายทางการเกษตรพ. ศ
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
โรงเรียนวังทองพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลกเขต 2
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
************************************************
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
ภาพรวมงานวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปี 2548/49
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
การผลิตสารประกอบอินทรีย์จากลำไยอบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล ด้วยจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในสภาวะตั้งนิ่ง (The Production of Organic Compounds from Expired Dried.
สารสกัดจากก้านเห็ดหอมแห้งที่มีเลนไธโอนีนเป็นส่วนประกอบ
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์
ชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
RDF/ MSW Industry for Thailand
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
การผลิตเอทานอลและมวลชีวภาพสำหรับ กระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่น จากจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในสภาวะตั้งนิ่ง Production of Ethanol and Biomass for Biotransformation.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ อ. สุภเวท มานิยม.
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีน และสาร 1, 3 - บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 5 วิถีวิจัย : ทศวรรษ ที่ 5 สู่ความเป็นเลิศ ตติยา คำทิพย์, ฐิติพร ก้านบัว, พนิตนันท์ สิทธิมูล, นพพล เล็กสวัสดิ์ บทคัดย่อ การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในสภาวะตั้งนิ่งระดับ 100 มิลลิลิตร เป็นเวลา 48 ชั่วโมง อุณหภูมิ 25.6 องศาเซลเซียส ที่ใช้แหล่งอาหารคาร์บอนเป็นลำไยอบแห้ง หมดอายุผสมกากน้ำตาล และไม่มีการเติมแหล่งอาหารไนโตร - เจนอื่นเพิ่มเติม เพื่อตรวจสอบความสามารถในการผลิตสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่ระดับสูงสุด พบว่า Saccharomyces cerevisiae TISTR 5606 ผลิตเอทานอลและกลีเซอรอลได้ 38.4  1.3 และ 4.51  0.16 กรัมต่อลิตร Zymomonas mobilis TISTR 405 ผลิตกรด แลกติกได้ 3.93  0.15 กรัมต่อลิตร Escherichia coli TISTR 1261 ผลิตกรดซิตริกและกรดฟอร์มิกได้ 29.1  1.7 และ 2.92  0.99 กรัมต่อลิตร และ Candida utilis TISTR 5001 ผลิตกรดโพรพาโนอิกได้ 7.71  0.39 กรัมต่อลิตร การผลิตสารประกอบอินทรีย์จากลำไยอบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล ด้วยจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในสภาวะตั้งนิ่ง (The Production of Organic Compounds from Expired Dried Longan Mixed with Molasses Using 15 Microbial Strains in Static Condition) บทนำ ลำไยอบแห้งทั้งเปลือกปี 2546 – 2547 มูลค่ากว่า 300 ล้านบาทยังคงตกค้างอยู่ในคลังขององค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ( อตก.) และองค์การคลังสินค้า ( อคส.) รวมทั้งสิ้นประมาณ 67,000 ตัน โครงงานวิจัย นี้เป็นหนึ่งในความพยายาม ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยศึกษา ความสามารถของจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในการผลิตสารอินทรีย์หลากชนิด รวมถึง R-phenylacetylcarbinol (PAC) ที่ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตยา ephedrine ด้วยการเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีองค์ประกอบเป็นสาร สกัดจากลำไยอบแห้งเน่าเสียที่ตกค้างในคลังและกากน้ำตาล ข้อมูลจาก งานวิจัยที่นำเสนอนี้ จะเป็นประโยชน์ในการคัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่ เหมาะสมสำหรับการผลิตระดับ 1,500 ml เพื่อศึกษาจลนพลศาสตร์และผลิต มวลเซลล์สำหรับกระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นเพื่อผลิต PAC จากไพรู เวตและ เบนซาลดีไฮด์ ที่ทีมงานวิจัยของเรากำลังดำเนินการศึกษาอยู่ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง จุลินทรีย์ที่ใช้ศึกษา 5 ชนิด (Candida utilis, Escherichia coli, Klebsiella sp., Saccharomyces cerevisiae และ Zymomonas mobilis) รวม 15 สายพันธุ์ แล้วทำการฆ่าเชื้ออาหารเลี้ยงเชื้อแต่ละชนิด (nutrient broth, yeast และ Zymomonas media) และอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีสารสกัด จากลำไยอบแห้งผสมกากน้ำตาล จากนั้นทำการเพาะเลี้ยงกล้าเชื้อและ เพาะเลี้ยงอาหารเลี้ยงเชื้อเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 48 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 25.6 องศาเซลเซียส เก็บตัวอย่างที่ 0 และ 48 ชั่วโมง โดยหยุดการเจริญเติบโต ของจุลินทรีย์ด้วยการแช่แข็งด้วยไนโตรเจนเหลว และเก็บตัวอย่างที่ -20 องศาเซลเซียส สำหรับการวิเคราะห์นำตัวอย่างมาละลายแล้วปั่นเหวี่ยง ณ 2,822×g เป็นเวลา 15 นาที ด้วยเครื่องหมุนเหวี่ยงเก็บตะกอนเซลล์และส่วน ของเหลวเพื่อวิเคราะห์ ผลการ ทดลอง รูปที่ 1 ความเข้มข้นน้ำตาล มวลชีวภาพ แห้ง เอทานอล สัดส่วนการ ผลิตมวล ชีวภาพและเอทานอลต่อน้ำตาลทั้งหมด ที่ใช้ไป (Y X/S และ Y P/S ) สำหรับจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ที่เวลาเริ่มต้นและหลังเลี้ยง 48 ชั่วโมง รูปที่ 2 ความเข้มข้นกรดอินทรีย์ กลีเซ อรอล ค่า pH ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำ ได้ทั้งหมด ค่าความทึบแสง และความ เข้มข้นโปรตีน สำหรับจุลินทรีย์ 15 สาย พันธุ์ ที่เวลาเริ่มต้นและหลังเพาะเลี้ยง 48 ชั่วโมง วิจารณ์และสรุป ผลการวิจัยพบว่าจุลินทรีย์ที่สามารถใช้น้ำตาลทั้งสามชนิดได้มากที่สุดในเวลา 48 ชั่วโมง คือ E. coli TISTR 1261 โดยเหลือความเข้มข้นน้ำตาลทั้งหมดเพียง 3.75  0.13 กรัมต่อลิตร ตามด้วย S. cerevisiae TISTR 5606 (13.6  0.6 กรัมต่อลิตร ) และ S. cerevisiae TISTR 5020 (43.3  2.2 กรัมต่อลิตร ) โดย E. coli ผลิตกรดซิ ตริก ในขณะที่ยีสต์ S. cerevisiae ทั้งสองสายพันธุ์ผลิต เอทานอล การผลิตเอทานอล จุลินทรีย์ที่ดีที่สุดสามอันดับแรก คือ S. cerevisiae TISTR 5606 (38.4  1.3 กรัมต่อ ลิตร ), S. cerevisiae TISTR 5020 (28.8  2.2 กรัมต่อลิตร ) และ Z. mobilis TISTR 405 (12.0  0.8 กรัมต่อลิตร ) ที่มีค่าสัดส่วนการผลิตเอทานอลในระดับสูงใกล้เคียงหรือ เทียบเท่าค่าในทางทฤษฎี จะเห็นได้ว่า S. cerevisiae TISTR 5606 เป็นจุลินทรีย์ที่มี ความสามารถสูงที่สุดจากการคัดเลือกจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในการผลิตเอทานอล ภายใต้สภาวะตั้งนิ่ง สำหรับการเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบไปด้วยลำไย อบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล และไม่มีการเพิ่มเติม แหล่งอาหาร ไนโตรเจนอื่น เอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างอิง Fresh Plaza id=9313 (accessed 06/12/07). Hildebrandt, G. and W. Klavehn Verfahren zur Herstellung von 1-1- Phenyl-2-methylamino-propan-1-ol. German patent กิตติกรรมประกาศ ทีมงานวิจัย ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงาน โครงการ IRPUS ประจำปี 2551 ที่ได้สนับสนุนทุนวิจัย (R51D03005) ใน ครั้งนี้