บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
4. Research tool and quality testing
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวิเคราะห์ผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัย
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
บทที่ 10 และการเขียน Abstract และการเขียนบทที่ 5
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
บทที่ 10 และการเขียน Abstract และการเขียนบทที่ 5.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
CLASSROOM ACTION RESEARCH
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย รูปแบบ บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย

คำถามเดิม สรุปเรื่อง การหาความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha Coefficient) อาจารย์คะ หากเรานำแบบสอบถามไปสอบถามจริงแล้ว ปรากฏว่า ค่า แอลฟา ไม่ถึง 0.7 ล่ะคะจะทำยังไง คำตอบ - ค่า แอลฟาใช้สำหรับการหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ ในขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยก่อนนำไปสอบถามจริง - แต่หลังจากนำแบบสอบถามไปถามจริงแล้ว เราจะไม่กลับมาพิจารณาค่า เอลฟาอีกแล้ว เพราะเราถือว่าเราผ่านขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยมาแล้วหากขั้นตอนทดสอบผ่านก็ถือว่าผ่าน - แต่ถ้าหากพบว่า มันน้อยมากในการเก็บแบบสอบถามจริง หากมีเงินทุนและเวลาพอและเป็นเรื่องสำคัญมากมาก แล้วเราอยากจะเก็บใหม่ก็ได้แล้วแต่ละกรณี

บทที่ 3 บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.1.1 ประชากรที่ศึกษา 3.1.2 วิธีการสุ่มตัวอย่าง 1) กำหนดขนาดตัวอย่าง(จากตารางหรือใช้สูตร) (เนื่องจากเป็นการทำวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งอาจารย์ให้เก็บเพียง 100 ตัวอย่างเท่านั้น) 2) วิธีการสุ่มตัวอย่าง 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - แบบสอบถามมีอะไรบ้าง 3.2.2 และการหาคุณภาพเครื่องมือ - การหาความตรงตามเนื้อหา (content validity) - การนำแบบสอบถามไปทดลองใช้ - วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability)

บทที่ 3 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล อธิบาย 1 ย่อหน้า เช่น การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ในการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามจำนวน 100 ชุด ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ (สถานที่)... 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล บอกว่าใช้สถิติอะไรในการวิจัยฉบับนี้ ใช้โปรแกรมอะไร

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 สอนวันที่ 01/09/2554