ปรัชญาสังคมศาสตร์ และวิธีวิทยาการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
เศรษฐกิจพอเพียง.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
(Individual and Organizational)
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การปลูกพืชผักสวนครัว
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
กระบวนการวิจัย Process of Research
การบรรยายตอนสอง ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม การบรรยายตอนสอง 
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ความหมายของการวิจารณ์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
THEORIES of POLITICAL ECONOMY And POLITICAL ECONOMY of DEVELOPMENT ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ปรัชญา และวิธีวิทยา ของเศรษฐศาสตร์การเมือง
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การพัฒนาตนเอง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิเคราะห์ปัญหาและยุทธศาสตร์การพัฒนาAnalysis on Problems and Strategies of Development ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปรัชญาสังคมศาสตร์ และวิธีวิทยาการศึกษา ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

มีหรือไม่มี. อยู่ที่ความรู้สึก ถูกหรือผิด. อยู่ที่การนิยาม ดีหรือชั่ว มีหรือไม่มี อยู่ที่ความรู้สึก ถูกหรือผิด อยู่ที่การนิยาม ดีหรือชั่ว ไม่ได้กำหนดจากภายใน แต่ถูกอธิบายจากภายนอก (ปรัชญาแบบ Post-Modern)

บริบทนิยม (CONTEXTUALISM) เป็นจิตสำนึกแบบ (ดูเพิ่มเติมจาก บริบทนิยม : การวิเคราะห์ Space, Non-space และวิธีวิทยาจากจุดยืน)

คำถามพื้นฐาน เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องเศรษฐกิจและสังคม ศึกษาเรื่องอะไร? ศึกษาทำไม? ศึกษาอย่างไร? เป็นคำถามที่พาดพิงไปถึงเรื่องสำคัญๆ ของ Philosophy of Social Science และ Theory of Knowledge โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ปรัชญาความรู้ ทางเศรษฐศาสตร์”

ศึกษาอย่างไร? จุดเริ่มต้นในการเขียน “ข้อเสนอการวิจัย” (research proposal) หรือโครงร่างวิทยานิพนธ์ ต้องตอบคำถาม 2 ข้อ 1. ใช้วิธีวิทยา และเทคนิคการวิจัยแบบไหน? 2. ทำไมจึงเลือกใช้วิธีวิทยา และเทคนิคการวิจัยดังกล่าว? คำตอบ 2 ข้อ คือ : - เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัย - เพื่อให้สามารถตอบ คำถามวิจัย ได้

คำตอบเพิ่มเติม : - เราเลือกใช้วิธีวิทยา และเทคนิควิจัยแบบไหนนั้น ขึ้นอยู่กับว่า เรามี “แนวคิดทางทฤษฎีแบบไหน” (วิถีการมองโลก มองมนุษย์ มองสังคม และข้อสมมติฐานเกี่ยวกับความเป็นจริง) - การเลือกใช้แนวคิดทางทฤษฎี ก็ขึ้นอยู่กับว่า เรามี “ญาณวิทยา” แบบไหนด้วย (ความรู้คืออะไร? ความรู้แบบไหน?)

THEORETICAL PERSPECTIVE กล่าวโดยสรุป ในการเขียนวิทยานิพนธ์ เราต้องคำนึงถึงปัจจัยหลัก 4 ประการ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการทำการศึกษา EPISTEMOLOGY THEORETICAL PERSPECTIVE METHODOLOGY METHODS (ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์จาก M. CROTTY , The Foundations of Social Research , Sage Publications 1988)

ความหมาย Epistemology : ทฤษฎีความรู้ ที่เป็นพื้นฐานที่ฝังอยู่ในแนวคิดทฤษฎี และวิธีวิทยา Theoretical Perspective : แนวคิดปรัชญาที่อยู่เบื้องหลัง methodology ทฤษฎีเหล่านี้จะบอกเราควรใช้ methodology แบบไหน แผนการวิจัยแบบไหน ขั้นตอนหลักการ และเหตุผลต่างๆ Methodology : กลยุทธ์, แผนปฏิบัติการ, กระบวนการ หรือ การออกแบบวิจัยที่เป็นพื้นฐานของการเลือกใช้ methods บางอย่าง ซึ่งจะนำไปสู่ผลลัพธ์ที่เราต้องการ Methods : เทคนิค หรือวิธีการที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์อย่างสอดคล้องกับคำถามวิจัย หรือข้อสมมติฐาน

Epistemology สิ่งที่เรารู้ เรารู้ได้อย่างไร? - ลองอธิบายให้เข้าใจ 3 สำนักคิด : - Objectivism - Subjectivism - Constructivism

ความหมาย Objectivism : สรรพสิ่งทั้งหลายดำรงอยู่อย่างมีความหมาย ไม่ขึ้นกับจิตสำนึก หรือประสบการณ์ สิ่งเหล่านี้มีอยู่จริง (objective truth and meaning) เราใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าถึงความจริง และความหมายได้ Constructionism : ความรู้ และความเป็นจริงที่มีความหมายเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติของคน ถูกสร้างโดยคน ท่ามกลางความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม เป็นสิ่งที่พัฒนาและถ่ายทอดกันในบริบทของสังคม ถ้าไม่มีจิตสำนึกก็ไม่มีความหมายใดๆ ดำรงอยู่ Subjectivism : ความรู้ และความหมาย ไม่ได้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม คนเราค้นหาความหมาย (ไม่ได้มาจากสิ่งที่ดำรงอยู่) แต่มาจากที่อื่น มาจากความฝัน นิยายโบราณ มาจากตำนาน มาจากความเชื่อ มาจากจิตใต้สำนึก…

Epistemology ญาณวิทยา : เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “ธรรมชาติของความรู้” ความเป็นไปได้ ขอบเขต และรากฐานของความรู้ มีความสำคัญอย่างไร? ญาณวิทยา จะปูพื้นฐานทางปรัชญาให้แก่การศึกษา/วิจัยของเรา โดยบอกเราได้ว่า ความรู้ประเภทไหน แบบไหนใช้ได้ เป็นไปได้ เพียงพอ และชอบธรรม ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจะต้องบอกได้ชัดเจนตั้งแต่ต้นเลยว่า มีญาณวิทยาแบบไหน เป็นพื้นฐานในการวิจัย

Postmodern Social Theory - ปฏิเสธ grand theory แบบเบ็ดเสร็จ - ไม่เชื่อทฤษฎีแบบนามธรรม - พยายามเสนอการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์การเมืองยุคโลกาภิวัตน์ ที่ถูกครอบงำโดยระบบสื่อมวลชน และความรู้แบบไฮ-เทค ยุค post- modernity - ชี้ว่า โลกชีวิตของคนหลังสมัยใหม่ ตกอยู่ใต้กระบวนการของ การทำทุกอย่างให้กลายเป็นสินค้า (Commodification) มีไว้ซื้อขายในตลาด (เช่น การท่องเที่ยว, การศึกษา, ศาสนา ฯลฯ)

วิธีวิทยาแบบ postmodern หลักการพื้นฐาน : - เสนอการวิเคราะห์ วาทกรรม เกี่ยวกับยุค post-modernity ซึ่งเป็นโลกที่ถูกสร้างโดยวิทยาศาสตร์ - ใช้ลีลาของ วรรณกรรม ในการสร้าง จินตนาการ เกี่ยวกับโลกและสังคม - วิเคราะห์ให้เห็นประสบการณ์ที่แตกแยกเป็นเสี่ยงของชีวิตมนุษย์ โดยใช้ วิธีการตีความ หลายระดับ และหลายรูปแบบ - ปฏิเสธระบบคิด และวิธีวิทยาแบบ positivism - มองว่า วัฒนธรรม ทุกหนทุกแห่ง เต็มไปด้วยความแตกแยก ความขัดแย้ง และการเปลี่ยนแปลง

คำส่งท้าย “ทฤษฎีสังคมศาสตร์ทั้งปวง รวมทั้งเศรษฐศาสตร์ มีไว้เพื่อเป็นเครื่องมือ ที่ช่วยให้ผู้คน “เข้าใจ” ระบบ และ “ยอมรับ” ระบบ อันเป็นการสร้างความชอบธรรมให้แก่ระบบ เพื่อดำรงอยู่ต่อไป” ความคิดแบบ postmodern (ดูบทต่อไป ญาณวิทยา: ปรัชญาสังคมศาสตร์และทฤษฎีความรู้)

วิธีวิทยาแบบ postmodern 1.วิเคราะห์ Space และ Non-Space 2. วิธีวิทยาจากจุดยืน (Standpoint Perspective Methodology) 3. ระเบิดกรอบ

พาราไดม์/ ระบบคิด/ วิธีคิด “ เมื่อพาราไดม์ของเราเปลี่ยน โลกก็เปลี่ยนไปด้วย ” Thomas KUHN Paradigm Shift

ญาณวิทยาแบบ Postmodernism เมื่อถึงจุดจุดหนึ่งจะเกิด “วิกฤติความรู้” นำไปสู่การแสวงหาความรู้ใหม่ Postmodernism คือ การแสวงหาความรู้ใหม่ และ new way of knowing : ไม่ใช่รู้สิ่งที่รู้แล้ว หากแต่เป็นการรู้ ถึงสิ่งที่ไม่อาจรู้ได้ นี่คือความหมายใหม่ ของคำว่า “ความรู้” ของ LYOTARD

Epistemology Epistemology คือ ทฤษฎีว่าด้วยความรู้ - เน้นว่า เราจะได้ความรู้มาอย่างไร ? แต่มีแนวคิดหลายแนวเกี่ยวกับ “ความรู้” เราจึงต้องถามเสมอว่า เป็นแนวคิดแบบไหน ? - rationalism - empiricism - historicism รวมทั้ง hermeneutics, pragmaticism ฯลฯ - postmodernism

Epistemological Anarchism นักปรัชญาสังคมศาสตร์ Paul Feyerabend ไม่ค่อยจะเห็นด้วยกับทฤษฎีแสวงหาความรู้แนว positivism และ rationalism - สิ่งที่เรียกว่า “วิธีการแบบวิทยาศาสตร์” ใช้ไม่ได้ในการวิจัย ควรจะใช้อะไรก็ได้ - วิธีวิทยาแบบวิทยาศาสตร์ เป็นเพียง 1 แนวทางในหลาย ๆ แนวทาง ที่ใช้ในการมองโลก และไม่มีคุณสมบัติเหนือแนวทางอื่น ๆ เลย Feyerabend เสนอทฤษฎีความรู้แบบอนาธิปัตยนิยม

ความจริง “ Each society has its regime of truth, its general politics of truth : that is, the types of discourse which it accepts and makes function as true.” FOUCAULT “ความจริง” เป็นเพียงสิ่งของที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อนำเอามาใช้ให้เกิดผล ทางอำนาจในการครอบงำผู้อื่น

ไม่มีอะไรจริง “ ไม่มีข้อเท็จจริง ไม่มีความเป็นจริง มีแต่การตีความเท่านั้นเอง ” NIETZSCHE

อำนาจ / ความรู้ Lyotard บอกว่า ความรู้และอำนาจเป็น 2 ด้าน ของคำถามเดียวกัน : - ใครเป็นคนกำหนดว่า อะไรคือความรู้ ? - ใครเป็นคนรู้ ว่าต้องการจะกำหนดอะไร ? ปัญหาของความรู้ จึงเป็นปัญหาของอำนาจ - ใครเข้าถึงความรู้ ?

ความหลากหลายทางความคิด “ ความรู้ คือ มหาสมุทรอันกว้างใหญ่ของแนวคิดทฤษฎี นิยาม มายาคติ ที่หลากหลาย แตกต่างกัน และเข้ากันไม่ได้เลย ” P. FEYERABEND

การต่อต้านจาก Postmodernism ในการแสวงหาความรู้ ทำไมต้องถามหา “ความจริง” ? ความจริง – มีหรือเปล่าในโลกนี้ ? เราไม่จำเป็นต้องไปถามว่าจริง / ไม่จริง อะไรจริง/ ไม่จริง เป็นเรื่องของการยอมรับมากกว่า ไม่มีใครบอกได้ว่า อะไรจริง เราจะเอาอะไรเป็นบรรทัดฐาน ?

ปฏิเสธ Meta-narrative Meta-narrative หมายถึง โลกทัศน์ที่ครอบคลุมทุกด้านแบบเบ็ดเสร็จ (comprehensive worldview) ที่ยอมรับกันว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง เป็นความจริง เป็นการเข้าใจโลกและสังคมอย่างแท้จริง (“true” understanding) ในความหมายนี้ meta-narrative (อภิมหานิยาย) ครอบคลุม : - คำสอนทางศาสนาของโลก - ระบบคิดทางปรัชญา (เช่น มนุษยนิยม, มาร์กซิสม์, ความคิดทันสมัย) - ทฤษฎี/ แนวคิด (เช่นตลาดเสรี)

(ต่อ) ในแนวคิดของ Postmodernism สรุปแล้ว การแสวงหาความจริงเป็นสิ่งที่เลื่อนลอย ทฤษฎีความจริงเป็น “meta-narative” (อภิมหานิยาย) (ดู A. GOLDMAN, Epistemology and Postmodern Resistance (ตำรา, บทนำ, Knowledge in A Social World, Oxford U.P. 1999 )

นิยาม postmodernism “ I define postmodern as incredulity toward meta-narratives.” LYOTARD - ไม่เชื่ออภิมหานิยาย - ไม่เชื่อว่า สิ่งเหล่านี้จะให้ “ความรู้” เกี่ยวกับความเป็นจริง ในโลกนี้ได้

นิยาม postmodernism (ต่อ) LYOTARD ต้องการกล่าวว่า ในโลกนี้ ไม่มีระบบกติกา นิยาย เรื่องราว หรือทฤษฎีใด ๆ มาอธิบายความรู้และการสื่อสารของผู้คนในสังคมได้อย่างถูกต้อง ไม่มีสัจจธรรม อันเป็นสากลและนิรันดร ถ้ามีเราก็คงเข้าไม่ถึง แทนที่จะลุ่มหลงใน totalizing meta-narratives เราควรให้ความสำคัญแก่การสร้าง วาทกรรม-อำนาจ ให้มีความหลากหลาย (power-discourse) หรือ สร้าง “เกมภาษา” (language games) ที่หลากหลาย ภายในบริบทของท้องถิ่นและกาลเวลา

เกมภาษา นักปรัชญา WITTGENSTEIN วิเคราะห์ว่า ในโลกนี้ มี “วาทกรรม” หลายแบบ (different modes of discourse) รูปแบบที่หลากหลายของการแสดงออกซึ่งคำพูด เราเรียกว่า language games “เกมภาษา” ผู้เล่น จะต้องมาร่วมกัน สร้างกฎกติกา เกมทุกเกม ย่อมต้องมีกติกา การเล่น หนทางไปสู่ความรู้ มีหลากหลาย เกมภาษาก็หลากหลายเช่นกัน ขึ้นอยู่กับบริบทท้องถิ่น และกาลเวลาปัจจุบัน

การวิเคราะห์วาทกรรม การวิเคราะห์ “วาทกรรม” คือการค้นหาดูข้อความบางอย่าง ที่ซ่อนเร้น หรือหายไป (ไม่ถูกนำมาเสนอ) หรือ ถูกตัดตอนบางส่วน คำสำคัญ : deconstruction หมายถึง ทฤษฎีที่บอกว่า ข้อความ 1 มีหลายความหมาย (ไม่ได้มีความหมายคงที่เพียงความหมายเดียว) ผู้อ่านจะเป็นผู้กำหนดว่า หมายความว่าอะไร

นิยาม postmodernism (ต่อ) ไม่มีระบบคิด/ ทฤษฎีไหน ที่จะมีอภิสิทธิ์อยู่เหนือทฤษฎีอื่น ๆ กระแสหลัก : บอกว่า ความรู้ในโลกนี้มีความรู้เดียวเท่านั้น นั่นคือ ความคิดแบบวิทยาศาสตร์ การอ้างความชอบธรรม “ผูกขาดความรู้” เป็นการเมืองแบบ “การก่อการร้าย”

แนวการวิเคราะห์ แบบ postmodern 1. พิจารณา แนวคิดทฤษฎี ความคิดต่างๆ วัตถุต่าง ๆ สรรพสิ่งที่เราต้องการรู้ มองว่าสิ่งเหล่านี้ คือ “ข้อความ” เราต้องทำการ “ตีความ” หาความหมายให้ได้ (ข้อความ / ตัวบท = text) 2. มองดูว่า ในข้อความเหล่านั้นมีคำพูดที่แตกต่างกัน อยู่ตรงข้ามกัน อะไรบ้าง : ก้าวหน้า/ ล้าหลัง ความดี/ ความชั่ว เรื่องจริง/ นิยาย ฯลฯ 3. ทำการ “รื้อถอน” = deconstruct : โดยแสดงให้เห็นว่า สิ่งที่อยู่ตรงข้าม ไม่จำเป็นต้องจริงเสมอไป

การวิเคราะห์แบบ postmodern (ต่อ) 4. ในโลกนี้ ไม่มีระบบอภิสิทธิที่จะมากำหนดว่า ทุกคนต้องมีจุดยืนเดียวกัน บนพื้นฐานเดียวกัน ข้อสรุปต่าง ๆ เป็นเรื่องของ “เกมภาษา” ไม่มีรากฐานที่ลึกล้ำอะไรมารองรับ และไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ ที่จะมาตัดสิน ข้อขัดแย้งทางความรู้ได้ 5. การอ้างความจริงเป็นเพียงเครื่องมือของการครอบงำและการกดขี่โดยกลุ่มคน ที่มีอำนาจ 6. เราไม่อาจเข้าถึงความจริงไปได้ และการปฏิบัติการที่บอกว่า “แสวงหาความจริง” ล้วนแต่ ปลิ้นปล้อน ฉ้อฉล และถูกบดบังโดยการเมือง หรือผลประโยชน์ส่วนตน

แนวการวิเคราะห์แบบ postmodern (ต่อ) ในแนวคิดของ Postmodernism สรุปแล้ว การแสวงหาความจริงเป็นสิ่งที่เลื่อนลอย ทฤษฎีความจริงเป็น “meta-narative” (อภิมหานิยาย) (ดู A. GOLDMAN, Epistemology and Postmodern Resistance (ตำรา, บทนำ, Knowledge in A Social World, Oxford U.P. 1999 )

จิตวิญญาณ / จุดยืนแบบ postmodern มีความเชื่อในเรื่อง ความหลากหลายทางความคิด มีจิตใจเน้นการวิพากษ์ (critical) ทำการตรวจสอบความคิดอย่างต่อเนื่อง และรื้อถอนอย่างไม่หยุดยั้ง เกี่ยวกับความเชื่อ ความคิด / ทฤษฎีที่เรายอมรับ เน้นความแตกต่างหลากหลายโดยกระบวนการคิดแบบรื้อถอน คิดใหม่ วิพากษ์ไม่ขาดสาย

Standpoint Epistemology Postmodern Epistemology : วิธีวิทยาจากจุดยืน ความรู้ : ไม่มีคำว่า “ความเป็นกลาง” - ผู้วิเคราะห์ ควรแสดงจุดยืนของตนเองออกมาให้ชัดเจน ไม่มี “value-free knowledge” - ในวัฒนธรรมกระแสหลักที่ครอบงำสังคม เราจะไม่ค่อยได้ยินเสียงของกลุ่มคนที่ยากไร้ สิ้นหวัง อยู่ชายขอบ - ทาส เท่านั้น ที่เข้าใจความเป็นทาส นักวิเคราะห์จะต้องเข้าไปนั่งในจิตใจของทาส เพื่อทำความเข้าใจ

Tacit Knowing / Knowledge คนเรารู้มากกว่าที่จะพูดออกมาได้ - ความรู้แบบ Tacit Knowing คือ บางสิ่งบางอย่างที่เรารู้ แต่ยังไม่สามารถกล่าวออกมาเป็นคำพูดได้ (เช่นรู้เกี่ยวกับความลับ) - Tacit Knowing คือ บางสิ่งบางอย่าง ที่เรารู้แต่อธิบายด้วยคำพูดไม่ได้ (เช่น รู้จากการคุ้นเคย แต่ยากที่จะอธิบาย หรือรู้จากสามัญสำนึก และประสบการณ์)

มรรควิธีแห่งเซน ความรู้แบบเซน : ปราศจากถ้อยคำ ก็เข้าถึงอาณาจักรของสัจธรรมอันไพศาลได้ : - ถ่ายทอดความรู้โดยไม่ใช้คัมภีร์ - ปราศจากคำพูดหรือตัวอักษร - เข้าสู่จิตโดยตรง - บรรลุพุทธภาวะ โดยศึกษาธรรมชาติแห่งตน ความรู้แบบนี้จะสามารถข้ามขอบเขตจำกัดของความรู้ทั้งปวง

Knowledge representation การนำเสนอความรู้ คือ การทำความเข้าใจเกี่ยวกับ “แนวคิด” หรือ “สถานการณ์” (ของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง) โดยใช้วิธีการบางอย่าง เช่น Frame – based representation Frame หมายถึงการนำเสนอ “แนวคิด” หรือ “สถานการณ์” โดยชี้ให้เห็นถึง ความเชื่อมโยงของปัจจัยต่าง ๆ (ร้านอาหาร หรือ “นั่งอยู่ในร้านอาหาร”) การนำเสนอความรู้ เสนอได้ บางมิติ บางด้าน บางภาพ ไม่อาจเสนอภาพทั้งหมดได้ แล้วแต่ว่า เราจะใช้ทฤษฎีความรู้แนวไหน ? ใช้ปรัชญาสังคมศาสตร์สำนักไหน ?

ข้อตกลงเบื้องต้น ปริญญาเอก ไม่ใช่ปริญญาโทใบที่สอง ต่อยอดกันไม่ได้ ปริญญาเอก ไม่ใช่ปริญญาโทใบที่สอง ต่อยอดกันไม่ได้ การนำเสนอ proposal ไม่ใช่ความพร้อม แต่เป็นการบอกว่า เรากำลังคิดอะไรอยู่ งานปริญญาเอก ต้องออกมาหลังผ่านการวิพากษ์ ขับเคี่ยว อย่างเข้มข้น ทั้งในแง่ข้อมูลและทฤษฎี จนตกผลึกในระบบคิดบางอย่าง แล้วนำมาตั้งโจทย์การวิจัย

THE END

THE END