วิทยาศาสตร์ ว 42102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ยกตัวอย่างและอธิบายเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาได้
เปลือกโลก
แผ่นดินสะเทือนเกิดขึ้น เมื่อแผ่นเทคโทนิกที่ต่อกัน 2 แผ่นเลื่อนเบียดกันอย่างกะทันหัน
แนวหินที่แตกระหว่างรอยต่อของ 2 แผ่นเคลื่อนเบียดกัน ซึ่งจุดที่เกิดการเบียดหรือชนเรียกว่า "จุดโฟกัส" (focus) หรือจุดไฮโป เซ็นเตอร์ (hypocenter) ซึ่งเป็นจุดที่คาดว่าเกิดการเบียดของ 2 รอยต่อ และตรงจุดนี้จะส่งผลให้เกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง บนผืนโลก หรือผืนน้ำเหนือขึ้นไป
แผ่นดินไหว(Earthquake) ภูเขาไฟระเบิด ปรากฏการณ์ธรณีวิทยา แผ่นดินไหว(Earthquake) ภูเขาไฟระเบิด
แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว เกิดตามขอบแผ่นเปลือกโลกและ ส่วนใหญ่เกิดตามรอบ ๆ มหาสมุทรหรือ ที่เรียกว่า วงแหวนไฟ(The Ring of Fire)
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหว ลึกลงไปใต้ผิวโลก
จุดที่อยู่บนผิวโลกที่ตรงกับจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว เป็นบริเวณที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด
เป็นคนคิดสูตรคำนวณหาขนาดความรุนแรงของแผ่นดินไหว C.F.Richter เป็นคนคิดสูตรคำนวณหาขนาดความรุนแรงของแผ่นดินไหว เราจึงใช้หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหวว่า ริคเตอร์
1) จำแนกตามความลึกจากผิวโลก 1.1 แผ่นดินไหวตื้น(0-70 km) ประเภทของแผ่นดินไหว 1) จำแนกตามความลึกจากผิวโลก 1.1 แผ่นดินไหวตื้น(0-70 km) 1.2 แผ่นดินไหวปานกลาง(70-300 km) 1.3 แผ่นดินไหวลึก(300-700 km)
2) จำแนกโดยใช้ระยะจากศูนย์กลาง 2.1 แผ่นดินไหวท้องถิ่น(< 100 km) ประเภทของแผ่นดินไหว 2) จำแนกโดยใช้ระยะจากศูนย์กลาง 2.1 แผ่นดินไหวท้องถิ่น(< 100 km) 2.2 แผ่นดินไหวห่าง(100-1,000 km) 2.3 แผ่นดินไหวไกล(> 1,000 km)
2.1 แผ่นดินไหวเบามาก(< 2 ริคเตอร์) 2.2 แผ่นดินไหวเบา(3-4 ริคเตอร์) ประเภทของแผ่นดินไหว 3)จำแนกตามขนาด 2.1 แผ่นดินไหวเบามาก(< 2 ริคเตอร์) 2.2 แผ่นดินไหวเบา(3-4 ริคเตอร์) 2.3 แผ่นดินไหวปานกลาง(4-5 ริคเตอร์) 2.4 แผ่นดินไหวรุนแรง(> 6 ริคเตอร์)
เกิดจากชั้นหินหลอมละลายใต้ เปลือกโลกที่ได้รับพลังงานจากแก่น สาเหตุของแผ่นดินไหว จากธรรมชาติ เกิดจากชั้นหินหลอมละลายใต้ เปลือกโลกที่ได้รับพลังงานจากแก่น โลกแล้วดันตัวขึ้นตลอดเวลา ทำให้ แผ่นเปลือกโลกเกิดจากเคลื่อนที่
ทฤษฎีการเคลื่อนที่ ครูศรีไพร แตงอ่อน
1. ทฤษฎีทวีปเลื่อน(Continental Drift Theory) 2. ทฤษฎีวงจรการพาความร้อน (Convection Current Theory) 3. ทฤษฎีเปลือกโลกใต้มหาสมุทรแยกตัว (Sea Floor Spreading Theory) 4. ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (plate Tectonic Theory) ครูศรีไพร แตงอ่อน
ทฤษฎีวงจรการพาความร้อน(Convection current theory) ครูศรีไพร แตงอ่อน
ขอบเขตและการกระจายตัวของแผ่นเปลือกโลก ครูศรีไพร แตงอ่อน
ลักษณะการเคลื่อนที่ ของแผ่นเปลือกโลก ครูศรีไพร แตงอ่อน
แผ่นเปลือกโลกใต้เคลื่อนที่เข้าหากัน ครูศรีไพร แตงอ่อน
แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าหากัน ครูศรีไพร แตงอ่อน
แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่แยกตัวออกจากกัน และเข้าหากัน ครูศรีไพร แตงอ่อน
แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ไถลตัวขนานแยกออกจากกัน ครูศรีไพร แตงอ่อน
การเดินทางของอนุทวีปไทย ครูศรีไพร แตงอ่อน
ดินแดนประเทศไทยยัง แยกตัวอยู่ใน 2 อนุทวีปฉานไทย เมื่อ 465 ล้านปีก่อน ดินแดนประเทศไทยยัง แยกตัวอยู่ใน 2 อนุทวีปฉานไทย (ส่วนของภาคเหนือลงไปถึงภาคตะวันออกและภาคใต้) และอนุทวีปอินโดจีน (ส่วนของภาคอิสาน) ครูศรีไพร แตงอ่อน
ครูศรีไพร แตงอ่อน
ต่อมาประมาณ 400-300 ล้านปีก่อน ครูศรีไพร แตงอ่อน
เมื่อประมาณ 220 ล้านปีก่อน ครูศรีไพร แตงอ่อน
ประเทศไทยในคาบสมุทรมลายูได้ เคลื่อนที่ มาอยู่ในตำแหน่งปัจจุบัน ครูศรีไพร แตงอ่อน
เปลือกโลก
แผ่นดินสะเทือนเกิดขึ้น เมื่อแผ่นเทคโทนิกที่ต่อกัน 2 แผ่นเลื่อนเบียดกันอย่างกะทันหัน
แนวหินที่แตกระหว่างรอยต่อของ 2 แผ่นเคลื่อนเบียดกัน ซึ่งจุดที่เกิดการเบียดหรือชนเรียกว่า "จุดโฟกัส" (focus) หรือจุดไฮโป เซ็นเตอร์ (hypocenter) ซึ่งเป็นจุดที่คาดว่าเกิดการเบียดของ 2 รอยต่อ และตรงจุดนี้จะส่งผลให้เกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง บนผืนโลก หรือผืนน้ำเหนือขึ้นไป
2006 Java Earthquake, Indonesia
2004, Niigata, Japan
1999 Chi-Chi (Ji-Ji) Earthquake, Taiwan
Banda Aceh (pre-tsunami) June 23, 2004
Banda Aceh (post-tsunami) December 28, 2004
Kalutara Sri Lanka (pre-tsunami) January 1, 2004
Kalutara Sri Lanka (post-tsunami) December 26, 2004
ทั่วประเทศไทยมีรอยเลื่อนที่มีพลัง 9 รอย 1. รอยเลื่อนเชียงแสน 2. รอยเลื่อนแพร่ 3. รอยเลื่อนแม่ทา 4. รอยเลื่อนเถิน
6. รอยเลื่อนเมย - อุทัยธานี 7. รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ 5. รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ 6. รอยเลื่อนเมย - อุทัยธานี 7. รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ 8. รอยเลื่อนระนอง 9. รอยเลื่อนมะรุย
2) จากการกระทำของมนุษย์ 2.1 การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ สาเหตุของแผ่นดินไหว 2) จากการกระทำของมนุษย์ 2.1 การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ 2.2 การทำเหมืองในระดับลึก 2.3 การสูบน้ำใต้ดิน 2.4 การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน