การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า แนวทางการเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อน ECT มีดังนี้ ส่งตรวจ EKG ส่ง x-ray LS spine AP-lateral รายแพทย์ทราบก่อน ECT ตรวจสภาพช่องปาก จำนวนฟันที่เหลือ ฟันปลอม ตรวจสอบว่ามีฟันโยกหรือไม่ ลักษณะการสบฟันปกติหรือไม่ ประสานทันตแพทย์ตรวจซ้ำทุกครั้งในการบำบัด ประวัติการเกิดขากรรไกรเคลื่อน ประวัติและการรักษาโรคทางกาย มียารักษาภาวะแทรกซ้อนทางกายที่ทานระหว่าง ECT หรือไม่ หากมี กำหนดให้ ก่อน ECT ให้ผู้ป่วยทานยามื้อเช้า เวลา 06.00 น. และดื่มน้ำไม่เกิน 50 ml CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56)
แบบบันทึกสำหรับเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อน ECT สำหรับหอผู้ป่วย สำหรับหน่วย ECT CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56)
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า การประเมินที่ต้องพิจารณาเพิ่มเติมสำหรับผู้ป่วยสูงอายุ การได้รับยาที่ทำให้เสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ ได้แก่ Corticosteroids ยากันชัก (phenytoin, carbamazepine, phenobarbital) Thyroxine hormone Loop diuretics Lithium Narcoleptics, metoclopramide, และยาอื่นๆ ที่เพิ่มระดับ prolactin Metrotrexate Cyclosporine A ประเมินการมองเห็น การได้ยิน และการทรงตัว อย่าละเลย เพิกเฉย!!! พยาบาลที่หน่วย ECT ต้องเยี่ยมผู้ป่วย ECT สม่ำเสมอ เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย ECT ทุกราย CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56)
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า ประเมินความเสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน ได้แก่ ประวัติการเกิดโรคกระดูกพรุนในครอบครัวหรือกระดูกสะโพกหักจากอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย ประวัติเคยกระดูกหัก(ความรุนแรงไม่สัมพันธ์กับการหัก เช่น หกล้ม) BMI ต่ำกว่า 18.5 หรือความสูงลดลงจากเดิม 3 ซม. กลุ่มที่ไม่ได้ออกกำลังกาย มีกิจกรรมน้อย ผู้ป่วยหญิงที่หมดประจำเดือนเร็วก่อนอายุ 45 ปี โดยเฉลี่ยหญิงไทยหมดประจำเดือนอายุ 50 ปี(45 – 55 ปี) หรือประจำเดือนไม่มาติดต่อกัน 12 เดือน (ไม่ใช่ตั้งครรภ์) ประวัติการใช้ยาสเตียรอยด์เป็นประจำ(นานกว่า 3 เดือน) ประวัติการสูบบุหรี่มากกว่า 20 มวนต่อวัน ดื่มสุราจัด ประวัติเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ เช่น การขาดแคลเซียม วิตามินดี ฯลฯ สำหรับสุภาพบุรุษ ความต้องการเพศลดลงหรือเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ที่มา : อ้างอิงข้อมูลจากมูลนิธิโรคกระดูกพรุนแห่งประเทศไทย *** หากพบความเสี่ยง จะมีการติดตามระดับการชักเกร็งว่ารุนแรงระดับใด และติดตามอาการปวดหลัง หลังการรักษาด้วยไฟฟ้าทุกครั้ง *** แม้จะไม่ใช่ผู้สูงอายุก็ตาม CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56)
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า แนวทางการดูแลผู้ป่วยสูงอายุระหว่าง ECT มีดังนี้ วิธีการประเมินอย่างง่ายๆเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อกระดูกข้อมือหัก ก่อน-หลัง ECT ให้บุคลากรยื่นแขนสาธิต ให้ผู้สูงอายุทำตาม แล้วประเมินความผิดปกติบริเวณข้อมือหรือแขนทั้งสองข้าง ***ขอดูมือหน่อยคุณตา คุณยาย*** CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56)
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า ***ต้องเฝ้าระวังการหกล้มในผู้ป่วยสูงอายุทุกราย เพื่อป้องกันภาวะกระดูกหัก โดย ปฐมนิเทศ โดยให้คำแนะนำผู้ป่วย เกี่ยวกับพื้นที่บริเวณห้องพักในหน่วย ห้องน้ำ ทางเดิน รวมทั้ง วิธีการขอความช่วยเหลือจากบุคลากร สอนผู้สูงอายุ ในการเปลี่ยนอิริยาบถที่ช้าไม่รีบเร่ง ป้องกันปัญหาความดันโลหิตต่ำระหว่างเปลี่ยนท่า การเปลี่ยนท่าอย่างถูกวิธีป้องกันการบาดเจ็บบริเวณหลัง CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56)
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า ***ต้องเฝ้าระวังการหกล้มในผู้ป่วยสูงอายุทุกราย เพื่อป้องกันภาวะกระดูกหัก โดย หลังการรักษาด้วยไฟฟ้า ให้นอนพัก จนกระทั่งไม่มีภาวะงุนงง สับสน ยกเลิกการผูกมัดโดยเร็ว เมื่อผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ป้องกันการรับบาดเจ็บหรือกระดูกหัก จากภาวะกระดูกบางและเปราะ CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56)
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า ***ต้องเฝ้าระวังการหกล้มในผู้ป่วยสูงอายุทุกราย เพื่อป้องกันภาวะกระดูกหัก โดย ตรวจประเมินอาการข้างเคียงและภาวะแทรกซ้อน จากการรักษาด้วยไฟฟ้า โดยเฉพาะ อาการปวดหลัง ดูแลเคลื่อนย้ายโดยรถเข็นนั่งทุกราย ทุกครั้ง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุและส่งกลับหอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย CQI ECT กันยายน 2556 (ปีงบประมาณ 56) Kanok.P