การอ่านเชิงวิเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
แนวการเขียนยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคเหนือ เชียงใหม่ ลำพูน
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การวางแผนและการดำเนินงาน
การอ่านออกเสียง ความมุ่งหมายในการอ่านออกเสียง
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
การเขียนโครงการ.
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ทักษะการคิดวิเคราะห์
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียนรายงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฟังเพลง.
การเขียนเชิงกิจธุระ.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
วิธีการคิดวิเคราะห์.
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
องค์ประกอบของบทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
พื้นฐานที่สำคัญของการเขียนได้แก่. เข้าใจเรื่องที่จะเขียน หัวข้อหรือประเด็นของเรื่อง เนื้อหาของเรื่อง ข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ จุดมุ่งหมายในการเขียน ขอบเขตของเรื่อง.
ความหมายของการวิจารณ์
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.
การพูด.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
(Demonstration speech)
ทักษะการอ่าน.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนรายงาน.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่านเชิงวิเคราะห์

แต่ยังต้องมีการวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนได้เขียนในด้านต่างๆด้วย การอ่านวิเคราะห์เป็นทักษะการอ่านในระดับที่สูงขึ้นกว่าการอ่านทั่วๆไป กล่าวคือ มิใช่เป็นเพียงการอ่านเพื่อความรู้และความเพลิดเพลินเท่านั้น แต่ยังต้องมีการวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนได้เขียนในด้านต่างๆด้วย

การอ่านเชิงวิเคราะห์เป็นการอ่านหนังสือแต่ละเล่มอย่างละเอียดให้ได้ความครบถ้วนแล้วจึงแยกแยะให้ได้ว่า ส่วนต่างๆนั้นมีความหมายและความสำคัญอย่างไรบ้าง แต่ละด้านสัมพันธ์กับส่วนอื่นๆ อย่างไร

วิธีอ่านแบบวิเคราะห์ องค์ประกอบของคำ และวลี นัย การใช้คำในประโยค วิเคราะห์ จุดประสงค์ ของผู้แต่ง สำนวนภาษา

การวิเคราะห์เรื่องที่อ่านทุกชนิด สิ่งที่จะละเลยเสียมิได้ก็คือ การพิจารณาถึงการใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาว่ามีความเหมาะสมกับ ระดับและประเภทของงานเขียนหรือไม่ เช่น ในบทสนทนาก็ไม่ควรใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน ควรใช้สำนวนให้เหมาะสมกับสภาพจริงหรือเหมาะแก่กาลสมัย ที่เหตุการณ์ในหนังสือนั้นเกิดขึ้น

การอ่านวิเคราะห์จึงต้องใช้เวลาอ่านมาก และยิ่งมีเวลาอ่านมากก็ยิ่งมีโอกาสวิเคราะห์ได้ดีมากขึ้น การอ่านในระดับนี้ ต้องรู้จักตั้งคำถามและจัดระเบียบเรื่องราวที่อ่าน เพื่อจะได้เข้าใจเรื่องและความคิดของผู้เขียนต้องการ

การวิเคราะห์การอ่าน รูปแบบ สำนวนภาษา ประกอบด้วย กลวิธีในการประพันธ์ เนื้อหาหรือเนื้อเรื่อง

ดูรูปแบบของงานประพันธ์ว่าใช้รูปแบบใด อาจเป็นนิทาน บทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น บทร้อยกรอง หรือบทควมจากหนังสือพิมพ์ กระบวนการวิเคราะห์ แยกเนื้อเรื่องออกเป็นส่วนๆให้เห็นว่า ใครทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียดลงไปว่าประกอบกันอย่างไร หรือประกอบด้วยอะไรบ้าง พิจารณาให้เห็นว่าผู้เขียน ให้กลวิธีเสนอเรื่องอย่างไร

การอ่านเชิงวิเคราะห์ในขั้นต่างๆ                            1.อย่าเอาไปใช้ทับกระดาษ                            2.ที่นี่รับอัดพระ                            3.เขาท่องเที่ยวไปทั่วพิภพ                            4.เจ้าอาวาสวัดนี้มรณกรรมเสียแล้ว   

วิเคราะห์คำ การอ่านวิเคราะห์คำ เป็นการอ่านเพื่อให้ผู้อ่านแยกแยะถ้อยคำในวลี ประโยค หรือข้อความต่างๆโดยสามารถบอกได้ว่า คำใดใช้อย่างไร ผิดหน้าที่ ไม่เหมาะสม ไม่ชัดเจนอย่างไร ควรจะต้องหาทางแก้ไข ปรับปรุงอย่างไร

วิเคราะห์ประโยค การอ่านวิเคราะห์ประโยคเป็นการอ่านเพื่อแยกแยะประโยคต่างๆ ว่าเป็นประโยคที่ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้ประโยคผิดไปจาก แบบแผนของภาษาอย่างไร เป็นประโยคที่ถูกต้องสมบูรณ์เพียงใดหรือไม่ มีหน่วยความคิดในประโยคขาดเกินหรือไม่ เรียงลำดับความในประโยคที่ใช้ได้ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้รูปประโยคที่สื่อความหมายไม่ชัดเจนหรือไม่

ผู้อ่านต้องพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบว่า วิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง      ผู้อ่านต้องพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบว่า ผู้เขียนเสนอทัศนะมีน้ำหนักเหตุผลประกอบข้อเท็จจริง น่าเชื่อถือเพียงใด เป็นคนมองโลกในแง่ใด

วิเคราะห์รส การอ่านวิเคราะห์รส หมายถึง การอ่านอย่างพิจารณาถึงความซาบซึ้งประทับใจที่ได้จากการอ่าน วิธีการที่จะทำให้เข้าถึงรสอย่างลึกซึ้ง คือการวิเคราะห์รสของเสียงและรสของภาพ

ด้านรสของเสียง ผู้อ่านจะรู้สึกได้ชัดจากการอ่านออกเสียงดังๆไม่ว่าจะเป็นการอ่านอย่างปกติหรือการอ่านทำนองเสนาะ จึงจะช่วยให้รู้สึกถึงความไพเราะของจังหวะ และความเคลื่อนไหว ซึ่งแฝงอยู่ในเสียง ทำให้เกิดความรู้สึกไปตามท่วงทำนองของเสียงสูงต่ำจากเนื้อเรื่องที่อ่าน

ด้านรสของภาพ เมื่อผู้อ่านอ่านแล้วเกิดความเข้าใจเรื่อง ในขณะเดียวกันทำให้เห็นภาพตามไปด้วย การเขียนบรรยายความด้วยถ้อยคำไพเราะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง ก่อให้เกิดภาพขึ้นในใจผู้อ่าน ทำให้เกิดความเพลิดเพลินและเข้าใจความหมายของเรื่องได้ดียิ่งขึ้น