บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
การฝึกอบรม โครงการจัดทำระบบคลังข้อมูลสาธารณภัย
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ส่วนประกอบของหน้าต่าง
Packet Tracer Computer network.
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
Visual Basic.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
Project Management.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
Use Case Diagram.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
C Programming Lecture no. 6: Function.
การประยุกต์ VB บทที่ 5.
Visual Basic บทที่ 1.
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ส่วนประกอบของโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
โปรแกรม Microsoft Access
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
การใช้งาน Microsoft Windows XP
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
Install Driver Token Key
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
Chapter 4 การสร้าง Application
PHP:Hypertext Preprocessor
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม Do Loop Until โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึ่ม Lec03 : 25/03/2551 การทำงานกับ Event ต่าง ๆ โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
Java Desktop Application #4
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
Java Desktop Application #5
วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
การใช้งานเครื่องมือในหน้าต่าง ToolBox
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Extra_08_Test_Modular_Calculator
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก intro_vb_net_06 การสร้างกราฟเส้นตรงด้วย VB.NET
วิชาการเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย vb.net2005
Tips and Tools MS Excel By คนควน.
ฟอร์ม โมดูล และ MDI.
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
บทที่ 3 การสร้าง Appication แบบ Windows Form
E-Sarabun.
Symbol & Instance.
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
การลงข้อมูลแผนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Lesson01 แมวเหมียว การแสดงภาพและเสียง. 1. คลิก New Project.
บทที่ 5 เทคนิคการสร้างแอพพลิเคชัน
Lesson02 paintpot การวาดเส้น. คลิก New Project ตั้งชื่อ paintpot.
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ อ.รจนา วานนท์ Roseyayee.wordpress.com roseyayee@gmail.com Tel 089-7204020

การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ ฟอร์ม (From) คือ หน้าต่าง (Window) ที่ใช้แสดงผล ซึ่งภายในฟอร์มสามารถมีคอนโทรลวางอยู่หรือมีฟอร์มอื่น ๆ อยู่ภายในก็ได้

Properties ที่สำคัญของฟอร์ม ในโปรแกรม Excel จะถือว่า UserForm เป็นออบเจ็กต์ชนิดหนึ่ง ดังนั้น ฟอร์มก็จะมีคุณสมบัติของตัวมันซึ่งจะเรียกทับศัทพ์ว่า Properties Properties ของ ฟอร์ม

Properties ที่สำคัญของฟอร์ม (ต่อ) Properties ของ UserForm ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เรามองเห็นหรือสัมผัสได้โดยตรง ไม่ว่าจะเป็นชื่อของฟอร์ม สีของฟอร์ม ขนาดฟอร์ม เป็นต้น ซึ่งเราสามารถกำหนดค่าให้ Properties ต่างๆ ผ่านทางหน้าต่าง Properties Windows หรืออาจจะเขียนคำสั่งกำหนด Properties นั้น ๆ ขณะโปรแกรมทำงานได้

Properties ที่สำคัญที่ควรรู้มีดังต่อไปนี้ Name = ชื่อของฟอร์ม Caption = ชื่อข้อความที่แสดงด้านบนฟอร์ม (Title) BorderStyle = รูปแบบกรอบของฟอร์ม Height = กำหนดความสูงของฟอร์ม Width = กำหนดความกว้างของฟอร์ม BackColor = กำหนดสีพื้นของฟอร์ม Font = กำหนดรูปแบบข้อความในฟอร์ม ForeColor = กำหนดสีข้อความภายในฟอร์ม Enable = กำหนดให้ใช้งานฟอร์มได้หรือไม่ StartUpPosition = กำหนดตำแหน่งแสดงผลของฟอร์มบนหน้าจอตอนเริ่มทำงาน

เมธอดสำคัญของฟอร์ม ถึงแม้ว่าฟอร์มจะดูเหมือนเป็นออบเจ็กต์ที่เป็นฐานรองให้คอนโทรลหรือ Object อื่น ๆ แต่ตัวมันเองก็มีความสามารถที่เราต้องใช้งานอยู่เสมอนั้นคือ Show เรียกฟอร์มขึ้นมาแสดงผล Hide ให้ปิดฟอร์ม

Event ที่สำคัญของฟอร์ม เป็นการเขียนชุดคำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรมตามเหตุการณ์ที่เกิด ดังนั้น เมื่อฟอร์มเป็นออบเจ็กต์ฟอร์มจึงมี Event ให้ใช้งาน เช่นกัน โดย Event ที่สำคัญ ๆ ของฟอร์มที่ควรรู้มีดังต่อไปนี้

Event ของ From

Event ที่สำคัญของฟอร์ม (ต่อ) Click จะเกิดขึ้นเมื่อคลิกลงบนพื้นฟอร์ม DbClick จะเกิดขึ้นเมื่อดับเบิลคลิกลงบนพื้นฟอร์ม Activate จะเกิดขึ้นเมื่อฟอร์ม Activate Resize จะเกิดขึ้นเมื่อมีการปรับขนาดฟอร์ม KeyDown จะเกิดขึ้นเมื่อปุ่มคีย์บอร์ดถูกกดลง KeyPress จะเกิดขึ้นเมื่อปุ่มคีย์บอร์ดถูกกด KeyUp จะเกิดขึ้นเมื่อปุ่มคีย์บอร์ดถูกปล่อย MouseDown จะเกิดขึ้นเมื่อคลิกเมาส์ขณะเมาส์อยู่บนฟอร์ม MouseMove จะเกิดขึ้นเมื่อเมาส์เลื่อนอยู่บนฟอร์ม MouseUp จะเกิดขึ้นหลังจากปล่อยปุ่มคลิกเมาส์ขณะเมาส์อยู่บนฟอร์ม

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์และออกแบบการทำงานของระบบงาน ในการพัฒนาระบบงานด้วยการเขียนโปรแกรมนั้น ก่อนอื่นเราต้องรู้ก่อนว่าเรากำลังจะพัฒนาระบบงานอะไรและพัฒนาระบบงานอย่างไร ขอยกตัวอย่างเป็นโปรแกรมรับข้อมูลลูกค้า และเพิ่มรายชื่อลงใน Worksheet ของโปรแกรม Excel โดยมีรูปแบบดังต่อไปนี้

โปรแกรมรับข้อมูลลูกค้า โปรแกรมรับข้อมูลลูกค้าจะให้คอนโทรล Label 4 ตัว TextBox 3 ตัว Button 3 ตัว และ listBox 1 ตัว

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ (ต่อ) ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 สร้างโปรเจ็กต์และออกแบบโปรแกรมบนฟอร์ม 2.1 สร้างปุ่มเรียกใช้งานโปรแกรมด้วย Active X Control

เลือก ปุ่ม Active X Control

2.2 กำหนดคุณสมบัติของปุ่มดังนี้

2.3 เข้าสู่การทำงานของ Visual Basic กดปุ่ม Alt + F11

2.4 คลิกขวาที่เมนู VBAProject ในหน้าต่าง Project Ecplorer เลือกคำสั่ง Insert > UserForm

2.5 จะปรากฏหน้าต่างฟอร์มและ Toolbox UserForm

2.6 สร้างฟอร์มตามแบบที่ได้ออกแบบไว้เริ่มจากลากคอนโทรล Label มาวางบนฟอร์ม

2.7 กำหนดค่า Properties ต่าง ๆ ใน คอนโทรล Lable

2.8 กำหนดลักษณะข้อความ

2.9 ปรับขนาดคอนโทรลตามความเหมาะสม

2.10 การกำหนด Properties ของคอนโทรลตัวอื่น ๆ สามารถทำได้เหมือนกันคอนโทรล Label ซึ่งค่า Properties ตามที่ระบุไว้มีดังต่อไปนี้

2.10 การกำหนด Properties ของคอนโทรลตัวอื่น ๆ สามารถทำได้เหมือนกันคอนโทรล Label ซึ่งค่า Properties ตามที่ระบุไว้มีดังต่อไปนี้

Properties ชื่อ

Properties ชื่อสกุล

Properties เบอร์โทรศัพท์

แบบฟอร์มที่สมบูรณ์

ขั้นที่ 3 เขียนชุดคำสั่งกำหนดการทำงาน 3.1 เขียนชุดคำสั่งใน sheet 1 เพื่อกำหนดให้เปิดโปรแกรมที่ปุ่ม เพิ่มข้อมูล Private Sub cbmOpen_Click() frmCustomer.Show End Sub

ประกาศตัวแปรที่ใช้ได้ทั้งโปรแกรมในส่วนของ General Dim intRows As Integer

3.2 ดับเบิลคลิกปุ่ม Set Sheet แล้วเขียนชุดคำสั่ง ดังนี้

3.3 ดับเบิลคลิกปุ่ม Addแล้วเขียนชุดคำสั่ง ดังนี้

3.4 ดับเบิลคลิกปุ่ม Close แล้วเขียนชุดคำสั่ง ดังนี้

ขั้นตอนที่ 4 ทดสอบการทำงานของโปรแกรม 4.1 ทดสอบโปรแกรมโดยคลิกปุ่ม Run บน Toolbar 4.2 คลิกปุ่ม เพิ่มข้อมูล เพื่อเปิดโปรแกรม 4.3 โปรแกรมที่สร้างไว้จะปรากฏขึ้น ให้คลิกปุ่ม set sheet 4.4 กรอกข้อมูลลูกค้า 4.5 คลิกปุ่ม Add จะได้ผลลัพธ์ 4.6 ปิดโปรแกรม

คลิกปุ่ม เพิ่มข้อมูล เพื่อเปิดโปรแกรม คลิกปุ่ม เพิ่มข้อมูล เพื่อเปิดโปรแกรม เพิ่มข้อมูล

โปรแกรมที่สร้างไว้จะปรากฏขึ้น ให้คลิกปุ่ม set sheet

กรอกข้อมูลลูกค้า

คลิกปุ่ม Add จะได้ผลลัพธ์

End