เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
Sampling Distribution
รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พันธุกรรมของแบคทีเรีย 2
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
A wonderful of Bioluminescence
โครโมโซม.
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
วิทยาศาสตร์พันธุกรรม ดีเอ็นเอ และ จีเอ็มโอ (Molecular Biotechnology)
Translation.
นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์
ดูวัวให้ดูที่หาง ดูนางให้ดูที่แม่ แต่ถ้าจะให้แน่ต้องดูที่ยาย
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
รายงานผลการดำเนินงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
Knowledge Management การจัดการความรู้สู่การพัฒนาการสอน
Investigation for primer effective in Selection of Green Catfish ( Mystus nemurus) Broodstock by RAPD Technique. Presented by Miss Sasuree Jarujit Advisor.
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
Artificial Intelligence (AI)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจและทัศนคติของนักเรียนต่อวิชาการเขียนโปรแกรม ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน ผศ.ดร.ปราวีณยาสุวรรณณัฐโชติ
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
Biotechnology applied in animal breeding
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
โครงการการใช้ดีเอ็นเอกำกับลักษณะพันธุ์ไม้ไทย
อีเอ็มกับการทำคลอดสุกร
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Transcription (การถอดรหัส)
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
บทที่ 17 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
การโคลนยีน หรือ การโคลน DNA (Gene cloning and DNA cloning)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา ภาควิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ที่อยู่ของ DNA

Gene ทำงานอย่างไร Subunit enzyme (Protein) exon1 exon2 exon3 exon4 5’ 3’ tRNA, rRNA exon1 exon2 exon3 exon4 intron1 intron2 intron3 mRNA Protein mRNA Subunit enzyme (Protein)

การแสดงออกของยีน WHERE / WHEN / HOW MUCH ตับ ผิวหนัง เด็ก ผู้ใหญ่

Artificial Insemination (A.I.) เพื่มความก้าวหน้าทางพันธุกรรม (G) ผ่านทางพ่อพันธุ์เป็นหลัก

Multiple Ovulation and Embryo Transfer (MOET) ตัวให้ X ตัวรับ

Increase level of genetic progress AI + MOET AI only Generation

Sex Control Sexing sperm flow cytometer Sexing embryo PCR

Genetic Markers Marker Assisted Selection (MAS) การใช้เครื่องหมายพันธุกรรมช่วยในการคัดเลือก ให้สัตว์มีพันธุกรรมตามที่ต้องการ

เทคนิค PCR เป็นเทคนิคการเพิ่มชิ้นยีน (หรือดีเอ็นเอ) ที่ต้องการด้วยเครื่องมือเฉพาะเรียก Thermal cycler (นิยมเรียกง่ายๆว่าเครื่อง PCR)

Reverse Primer 5’ 3’ 3’ 5’ Forward Primer ชิ้นยีนที่ต้องการ

PCR-RFLP ขั้นตอนที่ 1 ตรวจหายีนที่ต้องการจาก DNA ของสัตว์ด้วยวิธี PCR ขั้นตอนที่ 2 นำยีนที่ได้มาตัดด้วยเอ็นไซม์ สัตว์ปกติ/ไม่ปกติ จะได้รูปแบบต่างกัน

การวิเคราะห์ยีนต้านทานโรคเต้านมอักเสบ ยีน BoLA เป็นยีนสร้างโปรตีนบนผิวเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งช่วยในการจับกับสิ่งแปลกปลอม โคแต่ละตัวจะมีโปรตีน BoLA นี้แตกต่างกันออกไป เรียกชื่อเป็น DRB3 รูปแบบ 1, 2, 3, …. ปัจจุบันพบว่า DRB3 ที่สร้างโปรตีนรูปแบบ 51 มีความต้านทานต่อโรคเต้านมอักเสบมาก และยังพบว่าต้านทานต่อโรคไข้เห็บจากเชื้อ Anaplasma ด้วย

PCR - RFLP Taq DNA polymerase PCR-Products Genomic DNA MgCl2 dNTPs Primers (HLO30,HLO32) MgCl2 10X buffer ddH2O Step I. ตรวจหายีน DRB3 ด้วยวิธี PCR 94 oC for 30 s, 64 oC for 45 s, 72 oC for 45 s Taq DNA polymerase PCR-Products

PCR - RFLP การเพิ่มชิ้นยีน BoLA-DRB3 ด้วยวิธี PCR M 1 2 3 4 5 300 bp

PCR - RFLP , 3 ชม. , 3 ชม. Rsa I 37 oC Hae III PCR-Products 60 oC Step II. ตัดด้วยเอ็นไซม์ Rsa I 37 oC , 3 ชม. Hae III PCR-Products 60 oC , 3 ชม. BstY I

PCR - RFLP Step III. ตรวจหารูปแบบ 51 ซึ่งต้านทานโรคเต้านมอักเสบและไข้เห็บ

ตรวจสอบยีนต้านทานโรค/ความผิดปกติทางพันธุกรรม ยีนเครียดในสุกร สัตว์ปกติ/เครียดง่าย เมื่อใช้เอ็นไซม์ตัดแล้วจะได้รูปแบบต่างกัน N = ปกติ n = เครียดง่าย 600bp 400bp 200bp Nn NN Nn Nn nn nn NN NN Nn NN Nn nn nn nn Nn nn มียีนเครียด แฝงอยู่ เครียดง่าย ปกติ

ยีนที่มีการศึกษาและทดสอบแล้ว HAL Halothane gene (ยีนเครียดในสุกร) IGF2 (%เนื้อแดง) Estrogen Receptor (ยีนลูกดกในสุกร) MC4R (%ซากสุกร) Napole (นุ่มเนื้อในสุกร) BoLA (ยีนต้านทานโรคเต้านมอักเสบ) Kappa casein gene (ยีนโปรตีนและน้ำนม)

ยีนที่มีการศึกษาและทดสอบแล้ว DGAT (ยีน marbling ในโคขุน) Myostatin (%เนื้อแดงในโคขุน) Calpain (ความนุ่มเนื้อ) Boorula (ยีนลูกดกใหแพะแกะ)

QTL linked marker marker ที่ควรนำไปใช้ ในการคัดเลือก = gene marker SSC1 MARBLING Line-Cross 4.5 QTL position 4.0 3.5 -logP 1% Chr.w 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 cM 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 marker ที่ควรนำไปใช้ ในการคัดเลือก = gene marker

S1, S2, S3 ใครเป็นคนร้าย ? 7 DNA จากเหยื่อ 3 DNA ผู้ต้องสงสัย

วิเคราะห์พันธุ์ประวัติ(Pedigree analysis) 1 2 3 4 วิเคราะห์พันธุ์ประวัติ(Pedigree analysis) ลองหาความสัมพันธุ์ของ 1,2,3 and 4

monchai@kku.ac.th http://agserver.kku.ac.th/monchai Tel. 081-8724207