นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
นายปัทชา กระแสร์เสียง M นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ระดับความรุนแรงของความเสี่ยง (Severity)
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
Myasthenia Gravis.
นศ.ภ. จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ
กรณีศึกษา warfarin.
กฎหมายแรงงาน นพ. จรัส โชคสุวรรณกิจ
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
Thyroid gland.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 กุมภาพันธ์ 2549.
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
จัดทำข้อมูลวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การแพ้ยา
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาและ ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
การใช้ยา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ 4710020 Adverse Drug Reaction นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ 4710020

Outline Definition Classification of ADR Type A, B, C, D, E, F Immunologic type vs Non-immunologic type Classification of Immunologic type ADR Gell&Coombs

WHO: Adverse Drug Reaction “การตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตรายและ ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นในขนาดการ ใช้ตามปกติในมนุษย์ โดยไม่รวมถึงการได้รับ ยาเกิดขนาด หรือ การจงใจใช้ยาในทางที่ ผิดจนเกิดอันตราย” ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction, กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

WHO: Side effect “ ผลใดๆ ที่ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้นจาก เภสัชภัณฑ์(pharmaceutical product) ซึ่ง เกิดขึ้นในการใช้ตามขนาดปกติในมนุษย์ และสัมพันธ์กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของ ยา ” ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction, กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

WHO: Drug allergy “ ปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของ ร่างกายต่อยาที่ได้รับเข้าไป ” ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction, กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

I Ralph Edwards, Jeffrey K Aronson I Ralph Edwards, Jeffrey K Aronson. Adverse drug reactions: definitions, diagnosis, and management The Lancet, Volume 356, Issue 9237, 7 October 2000, Pages 1255-1259,

Type A vs Type B Type A Type B สัมพันธ์กับขนาดยา ไม่สัมพันธ์กับขนาดยา ส่วนใหญ่พบตั้งแต่ขั้นตอนการวิจัยทดลองยาในสัตว์ ไม่สามารถทำนายฤทธิ์การเกิดได้ด้วยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา พบบ่อย มีโอกาสทำให้เกิดการการเจ็บป่วยได้มาก แต่อาการที่เกิดขึ้นมักไม่รุนแรง โอกาสเสี่ยงต่อการเสียชีวิตน้อย ไม่พบในขั้นตอนการวิจัยทดลองยาในสัตว์ รักษาโดยการลดขนาดยา พบน้อย แต่อาการที่เกิดขึ้นมักรุนแรงเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง เช่น Overdose, Side effect, Secondary effect, Drug interaction เช่น Hypersensitivity immunological reaction, idiosyncratic reaction ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction. กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

Immunologic type อาการไม่สัมพันธ์กับผลทางเภสัชวิทยาตามปกติ การตอบสนองการแพ้ไม่สัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับปริมาณของยา แม้ได้ใน ปริมาณน้อยๆ ก็สามารถทำให้เกิดการแพ้ได้ อาการเกิดเมื่อรับยาสักระยะหนึ่ง โดยทั่วไป 1-2 สัปดาห์ ดังนั้นการใช้ยาครั้ง แรกถ้านานพอด็จะทำให้เกิดการแพ้ยาเช่นกัน ลักษณะอาการแพ้เป็นปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน ได้แก่ ผื่น(Rash), serum sickness, anaphylaxis, asthma, urticaria และ angioedema Eosinophillia หยุดยาแล้วอาการจะดีขึ้น เว้นการแพ้เกิดจากยาหรือเมตาโบไลท์ของยาจับอยู่ กับโปรตีนของร่างกายแล้วยังคงอยู่ในร่างกายเป็นเวลานาน แม้จะหยุดยาไปแล้ว ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction. กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

Non-immunologic type กลไกไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เกิดอาการแพ้ครั้งแรกที่ได้รับยา การจัดการ การหยุดยาในกรณีที่รุนแรง ไม่รุนแรงให้ลดขนาดยา ลดความเร็วในการให้ยา หรืออาจให้ยาป้องกัน ผู้ป่วยสามารถใช้ยานั้นครั้งต่อไปได้ ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction. กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

Adverse Drug Reactions:Types and Treatment Options Adverse Drug Reactions:Types and Treatment Options. American Family Physician. 2003

http://www. biology. ualberta http://www.biology.ualberta.ca/facilities/multimedia/uploads/immunology/type1.swf

Thank you http://www.biology.ualberta.ca/facilities/multimedia/uploads/immunology/type1.swf