งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี
Allergenicity จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี

2 ความเป็นไปได้ในการเป็นสารก่อภูมิแพ้
สารโปรตีนทีเกิดใหม่อาจก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ การประเมินจะเริ่มจาก แยกโปรตีน หรือ สังเคราะห์แต่พิสูจน์ได้ว่าเหมือนกัน ในกรณีนี้จำเป็นต้องคำนึงถึง เจ้าบ้านที่นำมาสังเคราะห์ด้วย ประเมินข้อมูลตามขั้นตอน

3 การประเมินความเป็นไปได้
แหล่งที่มาของโปรตีนใหม่ มาจาก สิ่งมีชีวิต/อาหาร ที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้หรือไม่ ถ้าใช่ ให้ถือว่าโปรตีนนั้นก่อให้เกิดภูมิแพ้ ในกรณีที่มีแหล่งที่มาที่ทราบว่าก่อภูมิแพ้ สมควรหลีกเลี่ยง ยกเว้นแต่ว่าจะสามารถพิสูจน์ได้อย่างชัดเจนทางวิทยาศาสตร์ว่าไม่มีการนำส่วนที่อาจทำให้เกิดภูมิแพ้มาด้วย

4 Specific serum screening
ถ้าโปรตีนมีแหล่งที่มาจากต้อตอที่อาจเกิดภูมิแพ้ได้ ควรทำการศึกษาเพื่อตรวจหา antibody ชนิด IgE ต่อโปรตีนดังกล่าวในเลือดของผู้ที่แพ้โปรตีนนั้น ควรใช้เลือดจากผู้ป่วย อย่างน้อย 8 คนพิสูจน์ ว่าไม่เป็น major allergen ใช้เลือด อย่างน้อย 24 คน พิสูจน์ว่าไม่เป็น minor allergen แม้จะได้ผลลบก็ควรทดสอบทางผิวหนัง หรือ ทกสอบแบบ ex vivo อื่นๆ

5 Specific serum screening
ถ้าได้โปรตีนจากแหล่งที่ไม่ก่อภูมิแพ้ และ ไม่พบว่ากรดอะมิโน คล้ายสารก่อภูมิแพ้ ก็ควรทำการทดสอบ targeted serum screening หาแอนติบอดี้ ชนิด IgE ต่อโปรตีน

6 ความคล้ายคลึงของกรดอะมิโน
ความคล้ายคลึง ระหว่าง กรดอะมิโน ของโปรตีนใหม่ และ สารที่ก่อภูมิแพ้ (FASTA, BLASTP) กรดอะมิโนที่อาจเป็น epitopes

7 การตรวจสอบ ถ้าลำดับกรดอะมิโน จำนวน ๘๐ ตัวขึ้นไป มีความคล้ายสารก่อภูมิแพ้มากกว่าร้อยละ๓๕ (FAO/WHO 2001) ให้ถือว่ามีโอกาสเกิดภูมิแพ้ ต้องมีการปรับปรุงตามฐานข้อมูลที่ทันสมัยที่สุด ไม่รวมการตรวจ epitope ที่ไม่มีลำดับกรดอะมิโนต่อเนื่อง แต่จับ IgE antibody ได้ ถ้าไม่พบความคล้ายคลึง ให้ทำการศึกษาขั้นอื่นๆต่อไป ถ้าพบว่ามีความคล้ายคลึง จะต้องมีการทดสอบโดยใช้เลือดจากผู้ที่ทราบว่าแพ้ต่อสารนั้นๆ หากจะมีการพัฒนาต่อไป

8 ความเสถียรต่อเปปซิน ถ้าพบว่าโปรตีนมีความเสถียรต่อเปปซิน แสดงว่าโปรตีนมีโอกาสเป็นสารที่ก่อภูมิแพ้ได้ ต้องทำการทดสอบให้ชัดเจนว่า โปรตีนนั้นไม่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ตามขั้นตอน ในกรณีที่ไม่มีความเสถียรต่อ เปปซิน ก็ยังคงต้องทำการวิเคราะห์ ในขั้นตอนอื่นๆ ต่อไป จนกว่าจะพิสูจน์แน่ชัดว่าไม่ใช่

9 ข้อพิจารณาอื่นๆ ความเป็นไปได้ในการเป็นสารก่อภูมิแพ้ของโปรตีนยังขึ้นกับการได้รับโปรตีนในอาหาร และผลจากการแปรรูบอาหารด้วย การประเมินควรมีการพัฒนาวิธีการ และ ข้อมูลให้เหมาะสมตลอดเวลา รวมถึงการเก็บรวบรวมเลือดของผู้ที่มีอาการแพ้เพื่อไว้ในการทดสอบด้วย


ดาวน์โหลด ppt จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google