การรู้สัจธรรมของชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ที่เราต้องเจ็บปวดกับความรักนะ
Advertisements

พุทธวิธีการปฏิบัติธรรม
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
บุญ.
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น จัดทำโดย ด. ช
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำกริยา.
กาลามสูตร สูตรหนึ่งในคัมภีร์ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสสอนชนชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคม ในแคว้นโกมล ไม่ให้เชื่องมงายไร้เหตุผล ตามหลัก ๑๐ ข้อ.
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
ศรัทธาความสำเร็จของผู้นำ
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
คำวิเศษณ์.
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
รายละเอียดของรายวิชา
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี
ไตรลักษณ์.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
พระป่า และ คำสอน ชุด ๑.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
สมุทัย ธรรมที่ควรละ.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
องค์ประกอบของวรรณคดี
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
บุคลิกภาพบุคลากรการทะเบียน ที่พึงประสงค์ ในการให้บริการประชาชน
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เรื่อง
ครูธีระพล เข่งวา 1 นายธีระพล เข่งวา ครูธีระพล เข่งวา.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เป็นรากฐานของคำสอนทั้งมวล ที่ทำให้ผู้เข้าถึง กลายเป็น อริยบุคคล มีดังต่อไปนี้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรู้สัจธรรมของชีวิต บทที่ ๒ การรู้สัจธรรมของชีวิต

การรู้สัจธรรมของชีวิต ๑. สัจธรรม (ความเป็นจริง) ชีวิต ประกอบด้วยขันธ์ ๕ คือ แบ่งชีวิตออกเป็นกองๆ ได้ ๕ กองดังนี้ ๑.๑ รูป ประกอบด้วยธาตุทั้ง ๔ ได้แก่ ดิน, น้ำ, ลมและไฟ ๑.๒ เวทนา ความรู้สึกสุข ทุกข์ เฉยๆ ๑.๓ สัญญา ความจำ การจดจำได้ ๑.๔ สังขาณ ความดี ความชั่ว บุญ บาป มาปรุงแต่งจิต ๑.๕ วิญญาณ การรับรู้ทางอารมณ์ ได้แก่ รูป, เสียง, รสและสัมผัส

การรู้สัจธรรมของชีวิต ชีวิตเป็นไปตามกฎธรรมชาติ ซึ่งมีหลักธรรมที่สำคัญ ๒ หมวดคือ ๑. ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะที่มีอยู่เป็นปกติ ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสในติกนิบาตร อังคุตตรนิกาย แบ่งได้ ๓ ประการ ได้แก่ ๑.๑ อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง เปลี่ยนไปตามกาลเวลา ๑.๒ ทุกขัง คือ ความเป็นทุกข์ ๑.๓ อนัตตา คือ ความไม่ใช่ตัวตน ความไม่ใช่ตัวตน เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา

การรู้สัจธรรมของชีวิต ๒. ปฏิจจสมุปบาท หมายถึง การเกิดขึ้นของสิ่งที่อิงอาศัยกัน การอธิบายปฏิจจสมุปบาทแบบไตรวัฏฏ์ ๒.๑ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน เป็น “กิเลส” ๒.๒ สังขาร(กรรม) ภพ เป็น “กรรม” ๒.๓ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา เป็น “วิบาก”

การรู้สัจธรรมของชีวิต ๒. จริยธรรม (ความประพฤติ) ชีวิตทุกชีวิตล้วนมีปัญหาต่างๆ จึงต้องดิ้นรนให้พ้นปัยหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ปัจจัย ๒ ประการที่ทำให้เราหลงว่ามี “ตัวฉัน” ๑. ถูกสอนมาว่าทุกสิ่งเป็นตัวเป็นตนทั้งนั้น ๒. การพูดที่มีการใช้สรรพนาม เมื่อยึดเป็นตัวของตน ก็จะเห็นแก่ตัว ประกอบการงานไปตามความเห็นแก่ตัวหรือพวกของตน

คุณค่าทางจริยธรรมของหลักอนัตตา คือ การรู้สัจธรรมของชีวิต คุณค่าทางจริยธรรมของหลักอนัตตา คือ ๑. ขั้นต้น ด้านตัณหา ลดการเห็นแก่ตัว ๒. ขั้นกลาง ด้านทิฐิ ทำให้จิตใจกว้างขวางขึ้น ๓. ขั้นสูง สลัดความยึดมั่นถือมั่นได้