Demand in Health Sector

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Dr.Tunt Chomchuen University of Chiangrai
INTRODUCTION TO HEALTH ECONOMICS
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Demand in Health Sector Dr.Tunt Chomchuen University of Chiangrai 2010

”What Demand For Health” "A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity"...WHO(1946) ”What Demand For Health”

Demand : อุปสงค์  Want  Purchasing of Power

อุปสงค์ : Demand ปริมาณความต้องการสินค้าหรือบริการชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าและบริการนั้น หรือ ณ ระดับรายได้ต่าง ๆ ของผู้บริโภค

Demand ประกอบด้วย 2 เงื่อนไข ผู้บริโภคมีความสามารถที่จะซื้อ ( Ability to Pay ) ผู้บริโภคมีความเต็มใจที่จะซื้อ ( Willing to Pay )

อุปสงค์มี 3 ชนิด อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand ) อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand ) อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นหรืออุปสงค์ไขว้ (Cross Demand )

อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) ความต้องการสินค้า&บริการ ณ ระดับราคาต่างๆ ราคาส้ม /กิโลกรัม (บาท) ปริมาณเสนอซื้อ (กิโลกรัม) 50 1 40 2 30 3 20 4

กฎของอุปสงค์ : Law of Demand ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคประสงค์ที่จะซื้อย่อมแปรผันผกผัน กับระดับราคาของสินค้า หรือ บริการชนิดนั้นเสมอ ราคาสูง ซื้อน้อย ราคาต่ำ ซื้อมาก

ราคาส้ม /กิโลกรัม (บาท) ปริมาณเสนอซื้อ (กิโลกรัม) ตารางอุปสงค์ต่อราคา แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุปสงค์กับราคาในรูปตาราง ราคาส้ม /กิโลกรัม (บาท) ปริมาณเสนอซื้อ (กิโลกรัม) 50 1 40 2 30 3 20 4

เส้นอุปสงค์ต่อราคา เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและความต้องการซื้อสินค้า ราคา 60 50 40 30 20 10 0 5 10 15 20 ปริมาณ

อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) ปริมาณเสนอซื้อสินค้าของผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผู้บริโภค เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน เปลี่ยนแปลงในทางตรงกันข้าม

เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน สินค้าปกติ (Normal Goods) Income Demand (ต่อ) เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน I Y I Y หรือ สินค้าปกติ (Normal Goods)

เปลี่ยนแปลงในทางตรงข้าม Income Demand (ต่อ) เปลี่ยนแปลงในทางตรงข้าม I I Y Y หรือ สินค้าด้อย : Inferior

อุปสงค์ต่อรายได้ แบ่งตามชนิดของสินค้า อุปสงค์ต่อรายได้ แบ่งตามชนิดของสินค้า สินค้าปกติ (normal goods) I Y สินค้าคุณภาพด้อย (inferior goods) I Y Y  I Y ผกผันกับ I

เส้นอุปสงค์ต่อรายได้ สินค้าปกติ สินค้าด้อย รายได้ รายได้ 0 ปริมาณ 0 ปริมาณ

อุปสงค์ต่อสินค้าชนิดอื่น Cross Demand การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ของสินค้าชนิดหนึ่ง ที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าชนิดหนึ่ง ตัวอย่าง สมมุติมีสินค้า 2 ชนิดคือ A และ B พิจารณาปริมาณอุปสงค์สินค้า B ที่มีผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า A

อุปสงค์ต่อสินค้าชนิดอื่น สินค้าใช้ทดแทนกัน (substitution goods) PA QB สินค้าประกอบกัน Complementary goods) PA QB

สาเหตุที่ปริมาณซื้อแปรผกผันกับราคาสินค้า ผลทางรายได้ ( Income Effect ) ผลทางการทดแทน ( Substitution Effect ) A B 10 5 20 50 D ราคา ปริมาณ

ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) ราคาของสินค้า (Price) ระดับรายได้ของผู้บริโภค (Income) รสนิยมของผู้บริโภค (Tastes) ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Relative Price) ขนาดของประชากร (Size of Population) การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (Price Expectation)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์และระดับอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Change in demand quantity) คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อเนื่องจากราคาสินค้าเปลี่ยน โดยที่ปัจจัยอื่นคงที่ A B 10 5 100 200 D ราคา ปริมาณ

การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Change in Demand) คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์ในขณะที่ราคาสินค้าและบริการคงที่ เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ 20 50 A B 10 D ราคา ปริมาณ D1

อุปสงค์ตลาด (Market Demand) อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual Demand อุปสงค์ตลาด (Market Demand)

ตารางแสดงอุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด ราคา ปริมาณเสนอซื้อส้มโอ นายแดง นายขาว นายโอ รวม 50 1 2 3 40 5 30 9 20 4 7 15

อุปสงค์ของบุคคลและอุปสงค์ของตลาด อุปสงค์ของตลาดหาได้จากการนำอุปสงค์ส่วนบุคคล ในการซื้อสินค้าแต่ละชนิด ณ ระดับราคาเดียวกันมารวมกัน D2 P Q 10 Dm D1 q1 q2 Q=q1+q2

จากตารางอุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ของตลาด ปริมาณเสนอซื้อส้มโอ Practice 3.1 จากตารางอุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ของตลาด ปริมาณเสนอซื้อส้มโอ จงเขียนเป็นกราฟแสดงอุปสงค์ของตลาด

อุปสงค์กับงานสาธารณสุข DEMAND FOR HEALTH

HEALTH "A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity"...WHO(1946)

HEALTH "A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or nfirmity"...WHO(1946) • Health is concerned as another commodity to be consumed and satisfies individual preference • Variety of demanding for health according to individual preference function

Evans (1984) ความพอใจของผู้บริโภค จะขึ้นอยู่กับจำนวนสินค้าและบริการที่ได้รับ รวมไปถึงสถานะของสุขภาพผู้บริโภค สุขภาพของผู้บริโภค เป็นเหมือนสินค้าอย่างหนึ่งที่ผู้บริโภค ต้องการในการที่จะทำให้ความพอใจสูงสุดเมื่อรวมกับสินค้าชนิดอื่นๆ

การตัดสินใจเรื่องสุขภาพ เป็น “ความจำเป็น (Need)”ของผู้บริโภค ความจำเป็นโดยหลักอุปสงค์ ความจำเป็นที่ควรมี (Normative Need) ความจำเป็นที่ตระหนัก (Felt Need) ความจำเป็นที่แสดงออก (Express Need) ความจำเป็นเปรียบเทียบ (Comparative Need)

ประเภทของอุปสงค์ใน Health Economics อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for Health) อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล (Demand for Health Care)

อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for Health) ความต้องการหรือความจำเป็น (Need) ที่ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีความสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ณ ระดับราคาเงา ราคาเงา : ราคาที่สะท้อนค่าเสียโอกาส ถ้าสูง Need จะน้อย ถ้าต่ำ Need จะสูง

อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล (Demand for Health Care) ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภค จะรับบริการ ณ ราคาต่างๆ กันของบริการ เป็นความจำเป็นที่ควรมี และความจำเป็นที่ตระหนัก

Practice 3.2 Practice 3.3 การบริโภคสินค้าและบริการสาธารณสุขแตกต่าง จากการบริโภคสินค้าและบริการทางเศรษฐกิจโดยทั่วไปอย่างไร Practice 3.3 ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ต่อสุขภาพและ อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาลมีอะไรบ้าง