Demand in Health Sector Dr.Tunt Chomchuen University of Chiangrai 2010
”What Demand For Health” "A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity"...WHO(1946) ”What Demand For Health”
Demand : อุปสงค์ Want Purchasing of Power
อุปสงค์ : Demand ปริมาณความต้องการสินค้าหรือบริการชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าและบริการนั้น หรือ ณ ระดับรายได้ต่าง ๆ ของผู้บริโภค
Demand ประกอบด้วย 2 เงื่อนไข ผู้บริโภคมีความสามารถที่จะซื้อ ( Ability to Pay ) ผู้บริโภคมีความเต็มใจที่จะซื้อ ( Willing to Pay )
อุปสงค์มี 3 ชนิด อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand ) อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand ) อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นหรืออุปสงค์ไขว้ (Cross Demand )
อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) ความต้องการสินค้า&บริการ ณ ระดับราคาต่างๆ ราคาส้ม /กิโลกรัม (บาท) ปริมาณเสนอซื้อ (กิโลกรัม) 50 1 40 2 30 3 20 4
กฎของอุปสงค์ : Law of Demand ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคประสงค์ที่จะซื้อย่อมแปรผันผกผัน กับระดับราคาของสินค้า หรือ บริการชนิดนั้นเสมอ ราคาสูง ซื้อน้อย ราคาต่ำ ซื้อมาก
ราคาส้ม /กิโลกรัม (บาท) ปริมาณเสนอซื้อ (กิโลกรัม) ตารางอุปสงค์ต่อราคา แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุปสงค์กับราคาในรูปตาราง ราคาส้ม /กิโลกรัม (บาท) ปริมาณเสนอซื้อ (กิโลกรัม) 50 1 40 2 30 3 20 4
เส้นอุปสงค์ต่อราคา เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและความต้องการซื้อสินค้า ราคา 60 50 40 30 20 10 0 5 10 15 20 ปริมาณ
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) ปริมาณเสนอซื้อสินค้าของผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผู้บริโภค เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน เปลี่ยนแปลงในทางตรงกันข้าม
เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน สินค้าปกติ (Normal Goods) Income Demand (ต่อ) เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน I Y I Y หรือ สินค้าปกติ (Normal Goods)
เปลี่ยนแปลงในทางตรงข้าม Income Demand (ต่อ) เปลี่ยนแปลงในทางตรงข้าม I I Y Y หรือ สินค้าด้อย : Inferior
อุปสงค์ต่อรายได้ แบ่งตามชนิดของสินค้า อุปสงค์ต่อรายได้ แบ่งตามชนิดของสินค้า สินค้าปกติ (normal goods) I Y สินค้าคุณภาพด้อย (inferior goods) I Y Y I Y ผกผันกับ I
เส้นอุปสงค์ต่อรายได้ สินค้าปกติ สินค้าด้อย รายได้ รายได้ 0 ปริมาณ 0 ปริมาณ
อุปสงค์ต่อสินค้าชนิดอื่น Cross Demand การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ของสินค้าชนิดหนึ่ง ที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าชนิดหนึ่ง ตัวอย่าง สมมุติมีสินค้า 2 ชนิดคือ A และ B พิจารณาปริมาณอุปสงค์สินค้า B ที่มีผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า A
อุปสงค์ต่อสินค้าชนิดอื่น สินค้าใช้ทดแทนกัน (substitution goods) PA QB สินค้าประกอบกัน Complementary goods) PA QB
สาเหตุที่ปริมาณซื้อแปรผกผันกับราคาสินค้า ผลทางรายได้ ( Income Effect ) ผลทางการทดแทน ( Substitution Effect ) A B 10 5 20 50 D ราคา ปริมาณ
ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) ราคาของสินค้า (Price) ระดับรายได้ของผู้บริโภค (Income) รสนิยมของผู้บริโภค (Tastes) ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Relative Price) ขนาดของประชากร (Size of Population) การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (Price Expectation)
การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์และระดับอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Change in demand quantity) คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อเนื่องจากราคาสินค้าเปลี่ยน โดยที่ปัจจัยอื่นคงที่ A B 10 5 100 200 D ราคา ปริมาณ
การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Change in Demand) คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์ในขณะที่ราคาสินค้าและบริการคงที่ เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ 20 50 A B 10 D ราคา ปริมาณ D1
อุปสงค์ตลาด (Market Demand) อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual Demand อุปสงค์ตลาด (Market Demand)
ตารางแสดงอุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด ราคา ปริมาณเสนอซื้อส้มโอ นายแดง นายขาว นายโอ รวม 50 1 2 3 40 5 30 9 20 4 7 15
อุปสงค์ของบุคคลและอุปสงค์ของตลาด อุปสงค์ของตลาดหาได้จากการนำอุปสงค์ส่วนบุคคล ในการซื้อสินค้าแต่ละชนิด ณ ระดับราคาเดียวกันมารวมกัน D2 P Q 10 Dm D1 q1 q2 Q=q1+q2
จากตารางอุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ของตลาด ปริมาณเสนอซื้อส้มโอ Practice 3.1 จากตารางอุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ของตลาด ปริมาณเสนอซื้อส้มโอ จงเขียนเป็นกราฟแสดงอุปสงค์ของตลาด
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข DEMAND FOR HEALTH
HEALTH "A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity"...WHO(1946)
HEALTH "A state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or nfirmity"...WHO(1946) • Health is concerned as another commodity to be consumed and satisfies individual preference • Variety of demanding for health according to individual preference function
Evans (1984) ความพอใจของผู้บริโภค จะขึ้นอยู่กับจำนวนสินค้าและบริการที่ได้รับ รวมไปถึงสถานะของสุขภาพผู้บริโภค สุขภาพของผู้บริโภค เป็นเหมือนสินค้าอย่างหนึ่งที่ผู้บริโภค ต้องการในการที่จะทำให้ความพอใจสูงสุดเมื่อรวมกับสินค้าชนิดอื่นๆ
การตัดสินใจเรื่องสุขภาพ เป็น “ความจำเป็น (Need)”ของผู้บริโภค ความจำเป็นโดยหลักอุปสงค์ ความจำเป็นที่ควรมี (Normative Need) ความจำเป็นที่ตระหนัก (Felt Need) ความจำเป็นที่แสดงออก (Express Need) ความจำเป็นเปรียบเทียบ (Comparative Need)
ประเภทของอุปสงค์ใน Health Economics อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for Health) อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล (Demand for Health Care)
อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for Health) ความต้องการหรือความจำเป็น (Need) ที่ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีความสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ณ ระดับราคาเงา ราคาเงา : ราคาที่สะท้อนค่าเสียโอกาส ถ้าสูง Need จะน้อย ถ้าต่ำ Need จะสูง
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล (Demand for Health Care) ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภค จะรับบริการ ณ ราคาต่างๆ กันของบริการ เป็นความจำเป็นที่ควรมี และความจำเป็นที่ตระหนัก
Practice 3.2 Practice 3.3 การบริโภคสินค้าและบริการสาธารณสุขแตกต่าง จากการบริโภคสินค้าและบริการทางเศรษฐกิจโดยทั่วไปอย่างไร Practice 3.3 ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ต่อสุขภาพและ อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาลมีอะไรบ้าง