การดำเนินงาน คลินิก NCD คุณภาพ จังหวัดเลย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงาน คลินิก NCD คุณภาพ จังหวัดเลย วรรธิดา เกตะวันดี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

ข้อมูลทั่วไป รพ. จำนวน ปชก.ทั้งหมด 646,938 คน มี 14 อำเภอ รพ. ระดับ S = 1 แห่ง M2 = 3 แห่ง F2 = 8 แห่ง F3 = 2 แห่ง รพ.สต. = 127 แห่ง ศสม. = 2 แห่ง จำนวน ปชก.ทั้งหมด 646,938 คน ผป.DM= 31,777 คน ,HT = 31,881 คน

วิสัยทัศน์ ระบบบริการสุขภาพ มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ระบบบริการสุขภาพ มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ภาคีมีส่วนร่วม ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข

ปัญหาสุขภาพคนเลย 10 ลำดับ ปัญหาสุขภาพคนเลย 10 ลำดับ 1 โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 2 โรควัณโรคปอด 3 ไข้เลือดออก 4 ปัญหาฆ่าตัวตาย 5 ปัญหายาเสพติด 6 ฟันผุในเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี 7 โรคเอดส์ 8 พฤติกรรมวัยรุ่น 9 สารเคมีตกค้างในร่างกาย 10 ผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่เหมาะสม

ร้อยละ ที่มา : 43 File อัตราความชุก(Prevalence)ของโรคDM/HT จังหวัดเลย ปี 2552-2557 เทียบกับประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ระดับประเทศ NHES ปี 52 DM= 6.9 ,HT= 21.4 ร้อยละ ที่มา : 43 File

อัตราการเกิดโรค(Incidence) DM-HT จังหวัดเลย ปี 2552 – 2557 เทียบกับประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ ที่มา : 21 File /รง. DM-HTจังหวัดเลย

ปี 2557 กับ การขับเคลื่อนงาน NCD

บูรณาการงานที่เกี่ยวข้องใน สสจ. ยาเสพติดและสุขภาพจิต คบส. NCD/ส่งเสริมสุขภาพ สุขศึกษาฯ พัฒนาคุณภาพฯ แพทย์แผนไทย กลุ่ม วัยทำงาน อนามัย สวล. อุบัติเหตุ สุขภาพภาคประชาชน งานประกันสุขภาพ ยาเสพติดและสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ ทันตฯ

การขับเคลื่อนงาน NCD ด้านการสนับสนุน ด้านการบริหารจัดการ ด้านวิชาการ พัฒนา/ทบทวนคู่มือและแนวทางในการดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่าย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กำหนดเป็นนโยบายสำคัญของจังหวัด ภายใต้แผนงานโครงการ “รักเลย รักสุขภาพ” ขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยคณะกรรมการ ระดับจังหวัด/อำเภอ บริหารจัดการเชิงระบบโดย System Manager ระดับจังหวัด/อำเภอ และ Case & Care Manager ระดับอำเภอ/ตำบล มีทีมบุคลากร/เครือข่ายการดำเนินงานทุกระดับทั้งในและนอกหน่วยงานสาธารณสุข มีการขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสาธารณะ ส่งเสริมการใช้มาตรการทางกฎหมาย / มาตรการทางสังคม พัฒนาระบบข้อมูลและรายงาน ระบบควบคุม ติดตามที่มีประสิทธิภาพ ด้านข้อมูล ด้านวัสดุ อุปกรณ์ และทรัพยากรในการดำเนินงาน การติดตาม กำกับการดำเนินงาน

กระบวนการพัฒนางาน NCD การนำองค์กร NCD Management Loei การวางแผนและบริหารเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นผู้รับบริการ/ภาคีเครือข่าย/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ประชาชน การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์การดำเนินงาน

กระบวนการพัฒนางาน NCD การนำองค์กร กำหนดเป็นนโยบายจังหวัด (รักเลย รักสุขภาพ) โดย ผวจ.เลย นพ.สสจ.เลย ผวจ.เลย

ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ร่วมสร้าง สุขภาพคนจังหวัดเลย ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม รักเลย รักสุขภาพ เมืองเลยน่าอยู่ คนเลย สุขภาพดี แข็งแรง

รักเลย รักสุขภาพ พฤติกรรม 3 อ 2 ส อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่ บุคคล พฤติกรรมสุขภาพดี ต้นแบบสุขภาพ ทุกองค์กร ขับเคลื่อน สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์กระแส “รักเลย รักสุขภาพ” -การประชาสัมพันธ์ข้อความ เช่น พิมพ์ต่อท้ายหนังสือราชการ เชิงสัญลักษณ์ เช่น เสื้อมี LOGO รักเลย รักสุขภาพ ตรวจคัดกรอง ภาวะเสี่ยงสุขภาพ สนับสนุนสร้างสุขภาพ งบกองทุนสุขภาพตำบล งบของหน่วยงาน/องค์กร องค์กร ชุมชน หมู่บ้านต้นแบบไร้พุง 3 อ 2 ส

การนำองค์กร ขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดยคณะกรรมการ NCD Board จังหวัด /อำเภอ บริหารจัดการเชิงระบบโดย System Manager ระดับจังหวัด/อำเภอ และ Case & Care Manager ระดับอำเภอ/ตำบล การสื่อสารไปยังผู้มีส่วนร่วมทุกระดับ ประสาน/ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย

การมุ่งเน้นผู้รับบริการ/ภาคีเครือข่าย/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ประชาชน จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา NCD จังหวัด อำเภอ ตำบล กำกับและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน วิเคราะห์และนำผลการประเมิน/บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สู่การพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพต่อเนื่อง การวางแผนและบริหาร เชิงกลยุทธ์ ติดตามกำกับการดำเนินงานของพื้นที จัดเวทีเพื่อรับฟังข้อคิดเห็น มีการสื่อสาร/ ให้ข้อมูลข่าวสาร/คืนข้อมูล ประเมินติดตาม วิเคราะห์/ปรับปรุงพัฒนา การมุ่งเน้นผู้รับบริการ/ภาคีเครือข่าย/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ประชาชน

มีข้อมูลสถิติ สถานการณ์ของโรค เพื่อการบริหารจัดการ การให้บริการ และการพัฒนาคุณภาพบริการ วิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง ปัจจัยความสำเร็จ พัฒนา/นำเทคโนโลยีมาใช้ในการวิเคราะห์ จัดเก็บองค์ความรู้ นวัตกรรม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวัด วิเคราะห์ และ การจัดการความรู้

บุคลากรเป็นบุคคลต้นแบบ จัดกิจกรรมเสริมพลัง สร้างแรงจูงใจ - ประกวด 5 ส. - รางวัลบุคคลต้นแบบทุกเดือน การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล บุคลากรเป็นบุคคลต้นแบบ ด้านสุขภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร - อบรม Care manager - การพัฒนาระบบข้อมูล

ออกแบบระบบที่สนับสนุนการดำเนินงาน ปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีขึ้น จัดสรรหรือบริหารจัดการทรัพยากรให้เหมาะสม สนับสนุน/พัฒนาความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย/ร่วมดำเนินงานในชุมชน ส่งเสริมการใช้มาตรการทางกฎหมาย / มาตรการทางสังคม ออกแบบระบบที่สนับสนุนการดำเนินงาน การจัดการกระบวนการ ออกแบบระบบที่สนับสนุนการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูล ที่เชื่อมโยงจังหวัด อำเภอ ตำบล มีคู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน มีระบบส่งต่อที่เชื่อมโยงทุกระดับ ลดแออัดผู้ป่วย DM/HT จาก รพ.สู่ รพ.สต และพัฒนาด้านคุณภาพ ลดความรุนแรงของผู้ป่วย DM/HT โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

ผลลัพธ์การดำเนินงาน หมู่บ้าน/ชุมชน/ตำบลสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง คลินิก DPAC คุณภาพ CKD clinic คุณภาพ คลินิก NCD คุณภาพ ผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ลดลง ผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ผู้ป่วย HT ที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ผู้ป่วย DM-HT ที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน ผู้ป่วย STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือด และ/หรือ การขยายหลอดเลือดหัวใจ เพิ่มขึ้น ผู้ป่วย Ischemic Stroke ได้รับยาละลายลิ่มเลือดเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์การดำเนินงาน

ผลการประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2557 ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 100 ไม่ผ่านเกณฑ์ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม คะแนน < 72 72-85 86-95 96 - 120 (แห่ง) - 2 8 4

สรุปบทเรียน จากปี 2557 การออก NCD สัญจร ตามอำเภอ ต่างๆ ก่อนเริ่มดำเนินงานจัดทำแผนงาน โครงการ เป็นสิ่งที่ดี สำหรับพื้นที่ ซึ่งพื้นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูล รู้ Gap พร้อมทั้งวางแผนในการพัฒนา และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเครือข่าย ผู้บริหารรับทราบ ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน และจัดการแก้ไขปัญหาให้กับพื้นที่ NCD Board ระดับจังหวัด อำเภอ ควรมีการพูดคุย ประชุม กันอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง เพื่อวางแผน กำกับ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน อย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง System manager Case/care Manager ระดับอำเภอ ตำบล ควรทราบบทบาทของตนเอง

สรุปบทเรียน จากปี 2557 การจัดกิจกรรมในแผนงาน โครงการ ควรดำเนินงานให้ได้ตามแผนที่วางไว้ กิจกรรมบางอย่าง เช่น การคัดกรอง DM/HT ควรทำให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสที่ 1 เพื่อจะได้ดำเนินการจัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยงต่อไปได้ กิจกรรมบางอย่างควรบูรณาการดำเนินการไปพร้อมๆ กัน เช่น การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า และช่องปาก

สรุปบทเรียน จากปี 2557 การประเมินต่างๆ เช่น NCD คุณภาพ ,CKD Clinic ทำให้แต่ละพื้นที่มีความตื่นตัว และดำเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ซึ่งในปี 2558 ในระดับทีมประเมิน คงต้องมีการทบทวน ทีม และเครื่องมือประเมินเพื่อพัฒนาด้านคุณภาพต่อไป ระบบข้อมูล ถ้ามีปัญหาตรงประเด็นใด ให้พูดคุย สอบถามทางช่องทางต่างๆ ได้ทันที จะได้แก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที และเมื่อมีการคืนข้อมูลให้ตรวจสอบ ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้อง ให้แก้ไขและส่งคืนข้อมูลกลับให้จังหวัดทันที

การขับเคลื่อนงาน NCD ปี 2558

GOAL NCD คุณภาพ ทำได้ดีแล้ว ทำแล้วแต่ยังไม่ดี ยังไม่ได้ทำ P D C A ทำได้ดีแล้ว คงไว้พัฒนาต่อ ทิศทางและนโยบาย ระบบสารสนเทศ ปรับระบบและกระบวนการบริการ ทำแล้วแต่ยังไม่ดี หา GAP ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ยังไม่ได้ทำ วางแผน จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน

ประเด็นพัฒนา ปี 58 นโยบายจังหวัด (รักเลย รักสุขภาพ) โดย ผวจ.เลย ขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดย NCD Board จังหวัด อำเภอ NCD สัญจร เพื่อเยี่ยมให้กำลังใจชี้แจงนโยบายและรับทราบ ปัญหา อุปสรรค พท.ได้วิเคราะห์ข้อมูล รู้ GAP และมีแนวทางปิด GAP คัดกรอง CVD ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ขยายองค์กรต้นแบบไร้พุงสู่หน่วยบริการอื่นที่ไม่ใช่ สธ. อำเภอละอย่างน้อย 1 แห่ง การพัฒนาศักยภาพ Selt Management ประเด็นพัฒนา ปี 58 เน้นคุณภาพการรักษาผู้ป่วย DM-HT ที่ส่งรับการรักษาที่ รพ.สต. พัฒนาโปรแกรม แปรผล/วิเคราะห์ข้อมูลจอตา (Retina Diag) เน้นการดำเนินงานด้านคุณภาพ พัฒนาทีมประเมินด้านคุณภาพ NCD คุณภาพ, CKD คุณภาพ DPAC คุณภาพ CKD Clinic คุณภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคในหมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ สรุปบทเรียน/จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม กำกับการดำเนินงาน

บูรณาการ ใน Setting กลุ่มวัยทำงาน เป้าประสงค์หลัก :วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กาย ใจ เป็นสุข - คลินิก NCD,DPAC,CKD คุณภาพ - คลินิก Asthma/COPD - คลินิกอดเหล้า/ บุหรี่ -สุขภาพจิต - ระบบสุขภาพอำเภอ --จัดระบบข้อมูล: IS 43 แฟ้ม - M&E - ตำบลจัดการสุขภาพ/ Healthy workplace - บังคับใช้กฎหมาย -อุบัติเหตุจราจร Population Approach Individual Approach 1.ขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ /Healthy Workplace (3อ. 2ส. , 3ม. 2ย. 1ร.) 2 บังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ 3. พัฒนาการดำเนินงานด้านอุบัติเหตุจราจร - สอบสวนอุบัติเหตุ - บูรณาการทุกหน่วยงานในระดับอำเภอ ตำบล 1.พัฒนาคลินิก -NCD / DPAC/CKDคุณภาพ -Asthma/COPD -อดเหล้า/ บุหรี่ -สุขภาพจิต 2.พัฒนาการจัดการความเสี่ยง CVD 1.มาตรการ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยง ในประชากร 2. มาตรการ พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค มาตรการสนับสนุน กรม กองต่างๆ/สสจ. /คปสอ.

ปีงบประมาณ 2558 ทำอะไร จัดทำแผน/อนุมัติแผน (ก.ย. – ต.ค.57) จัดทำแผน/อนุมัติแผน (ก.ย. – ต.ค.57) พื้นที่ทุกแห่งเริ่มดำเนินการตามแผน 1 ต.ค.57 การคัดกรอง DM-HT

การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า ช่องปาก

NCD สัญจร (ครบทุกแห่งภายในเดือน ต.ค.57)

พัฒนาศักยภาพ จนท.ทุกระดับ Selt management (24 ตุลาคม 57)

องค์กรต้นแบบไร้พุง จนท.สธ.เป็นต้นแบบด้านสุขภาพ (เริ่มดำเนินการ พ.ย.57)

พื้นที่ Selt Assagement เดือน ธันวาคม 57 ทีมจังหวัดลงประเมินรอบแรกในเดือน มกราคม 58 .NCD คุณภาพ .CKD คลินิก .DPAC คุณภาพ .องคฺกรต้นแบบไร้พุง ที่ขยายเพิ่ม 1 องค์กร กำกับติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานทุกเดือน

SIIIM: กรอบการพัฒนาและติดตามประเมินผล Structure: การจัดให้มี NCD board และ System manager ในระดับจังหวัด และอำเภอ มี case manager ใน รพ.ทุกแห่งและ Care สถานบริการ Information: ใช้โปรแกรม HOSxP ส่งออก 43 แฟ้ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Disease surveillance มีการคืนข้อมูลให้พื้นที่ตรวจสอบเป็นระยะ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ วางแผน ปรับปรุง การดำเนินงาน Intervention/Innovation: มีการออกแบบระบบสนับสนุนการดำเนินการในพื้นที่ ทุกกลุ่ม(ปกติ เสี่ยง ป่วย)และแต่ละพื้นที่รวบรวมผลงานนวัตกรรม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Integration: มีการบูรณาการทั้งในและนอกหน่วยงาน สธ. M & E: มี KPI ทั้งในระดับ จว./เขต/สธ.มีการกำกับติดตามประเมินผลหลากหลายรูปแบบ เป็นระยะๆ

พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ระดับดีมากขึ้นไป ทุกแห่ง ในส่วนที่ทำได้ดีแล้วคงไว้และพัฒนาต่อไป ในส่วนที่ทำแล้วแต่ยังไม่ดี หา GAP และ แก้ไข ในส่วนที่ทำไม่ได้ ทำแผน หาแนวทางดำเนินงานต่อไป

เกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ ใช้เป็นแนวทางประเมินตนเอง เพื่อหาโอกาสในการพัฒนาระบบงาน เกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ Process indicators Outcome indicators

ขอมอบ สุขภาพดี รักเลย รักสุขภาพ

ถ้าวันนี้เหนื่อยแล้วสู้ไม่ไหว ยังมีแสงของวันต่อไป แสงอาทิตย์ ยามเช้า บอกให้เรา สู้ ต่อไป ถ้าวันนี้เหนื่อยแล้วสู้ไม่ไหว ยังมีแสงของวันต่อไป เป็นกำลังใจ ให้เราทุกวัน

สวัสดี ขอขอบคุณทุกท่าน