กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การกระทำทางสังคม (Social action)
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ระบบเศรษฐกิจ.
Crisis Management A I C.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การค้ามนุษย์.
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
( Organization Behaviors )
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กระบวนการวางแผน (Planning Process)
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
( Organization Behaviors )
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
Change Management.
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ

กรอบในการวิเคราะห์ กรณีศึกษาจะดูถึงปัจจัย ต่าง ๆ อันได้แก่ กรอบในการวิเคราะห์ กรณีศึกษาจะดูถึงปัจจัย ต่าง ๆ อันได้แก่ Actors, Incompatibility, Kind of Conflict, Perception/ Misperception, Environment, Action/ Behavior, วิธีการจัดการกับความ ขัดแย้ง วิธีการทางการเมืองในการ จัดการกับความขัดแย้ง

1. Actors วิเคราะห์ว่าผู้ที่เกี่ยวข้องในความขัดแย้งเป็น ใคร อาจเป็นบุคคล กลุ่มคน สถาบัน องค์กรของรัฐ ตำแหน่งคู่กรณีใน โครงสร้างทางอำนาจที่ความขัดแย้งเกิดขึ้น โดยจะดูถึงอำนาจและอิทธิพลของ Actors ที่เข้ามาอยู่ในกระบวนการขัดแย้ง วิเคราะห์ว่าผู้ที่เกี่ยวข้องในความขัดแย้งเป็น ใคร อาจเป็นบุคคล กลุ่มคน สถาบัน องค์กรของรัฐ ตำแหน่งคู่กรณีใน โครงสร้างทางอำนาจที่ความขัดแย้งเกิดขึ้น โดยจะดูถึงอำนาจและอิทธิพลของ Actors ที่เข้ามาอยู่ในกระบวนการขัดแย้ง

Incompatibility Incompatibility ต้องการดูว่า เป็นความแตกต่างกันในเรื่อง ใดบ้าง เช่น เรื่องวัตถุประสงค์ ค่านิยม ผลประโยชน์ ซึ่งสามารถเป็นผลประโยชน์ ด้านวัตถุและมิใช่ด้านวัตถุ ต้องการดูว่า เป็นความแตกต่างกันในเรื่อง ใดบ้าง เช่น เรื่องวัตถุประสงค์ ค่านิยม ผลประโยชน์ ซึ่งสามารถเป็นผลประโยชน์ ด้านวัตถุและมิใช่ด้านวัตถุ

ชนิดของความขัดแย้ง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ (1) Disagreement เป็นความขัดแย้งเรา แตกต่างในเรื่องของวิธีการ แต่มีวัตถุประสงค์ เหมือนกัน (2) Dispute เป็นความขัดแย้งที่ผลประโยชน์ ต่างกัน (3) Conflict – Non – Negotiable Needs เป็น ความขัดแย้งที่ไม่สามารถเจรจาต่อรองกันได้ เพราะเป็นเรื่องความต้องการพื้นฐาน

Perception/ Misperception ความคิดเห็นของคู่กรณีมีผลอย่างมากต่อ การตัดสินใจ และพฤติกรรมของผู้ สังเกตการณ์และผู้วิจัยเห็นความแตกต่าง อย่างไรบ้าง ความคิดเห็นของคู่กรณีมีผลอย่างมากต่อ การตัดสินใจ และพฤติกรรมของผู้ สังเกตการณ์และผู้วิจัยเห็นความแตกต่าง อย่างไรบ้าง

Environment Context ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสถาบันที่เกิดความ ขัดแย้งขึ้นบ่อยครั้งวัฒนธรรม (ส่วนหนึ่ง ของสถาบัน) เป็นตัวกำหนดว่าคนในสังคม ต่อสู้กันเรื่องอะไร ใครเป็นคู่กรณีของใคร และวิธีการที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ในการ ต่อสู้เป็นอย่างไร ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสถาบันที่เกิดความ ขัดแย้งขึ้นบ่อยครั้งวัฒนธรรม (ส่วนหนึ่ง ของสถาบัน) เป็นตัวกำหนดว่าคนในสังคม ต่อสู้กันเรื่องอะไร ใครเป็นคู่กรณีของใคร และวิธีการที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ในการ ต่อสู้เป็นอย่างไร

Action/ Behavior มีลักษณะสร้างสรรค์ หรือทำลาย อาจมีการ กระทำ (action) หลายอย่าง เช่น การ โต้เถียงด้วยคำพูด การชักจูงหว่านล้อม หรือโฆษณาชวนเชื่อ การบอยคอต (Boycott) หรือการเดินขบวนข่มขู่ ประท้วง หรือยึดสถานที่จับตัวประกัน การ ใช้กำลังทหารและอื่นๆ มีลักษณะสร้างสรรค์ หรือทำลาย อาจมีการ กระทำ (action) หลายอย่าง เช่น การ โต้เถียงด้วยคำพูด การชักจูงหว่านล้อม หรือโฆษณาชวนเชื่อ การบอยคอต (Boycott) หรือการเดินขบวนข่มขู่ ประท้วง หรือยึดสถานที่จับตัวประกัน การ ใช้กำลังทหารและอื่นๆ

วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง ชนิดของความขัดแย้งที่ต่างๆเหมาะกับวิธีการต่างกันได้แก่ (1) ถ้าเป็น Disagreement อาจจัดการโดยช่วยให้มีการ พุดจาแลกเปลี่ยนทัศนะและ Compromise (2) ถ้าเป็น Dispute เป็นความแย้งที่ตั้งอยู่บนผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง กันทางแก้ไขอาจใช้กฎหมายหรือวิธีการ Ombudsman (3) ถ้าเป็น Conflict Settlement เป็นความขัดแย้งหรือ เป็นความแตกต่างระหว่างผู้เกี่ยวข้องของในความขัดแย้ง ยังคงอยู่แต่ควบคุมได้ (4) ถ้าเป็น Conflict Resolution ถ้าผลยั่งยืนเพราะแก้ปัญหาความแตกต่างในเรื่อง Needs ได้อย่างน่าพอใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ชนิดของความขัดแย้งที่ต่างๆเหมาะกับวิธีการต่างกันได้แก่ (1) ถ้าเป็น Disagreement อาจจัดการโดยช่วยให้มีการ พุดจาแลกเปลี่ยนทัศนะและ Compromise (2) ถ้าเป็น Dispute เป็นความแย้งที่ตั้งอยู่บนผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง กันทางแก้ไขอาจใช้กฎหมายหรือวิธีการ Ombudsman (3) ถ้าเป็น Conflict Settlement เป็นความขัดแย้งหรือ เป็นความแตกต่างระหว่างผู้เกี่ยวข้องของในความขัดแย้ง ยังคงอยู่แต่ควบคุมได้ (4) ถ้าเป็น Conflict Resolution ถ้าผลยั่งยืนเพราะแก้ปัญหาความแตกต่างในเรื่อง Needs ได้อย่างน่าพอใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

วิธีการทางการเมืองในการจัดการ กับความขัดแย้ง อาจใช้วิธีต่างๆ ดังนี้ คือ (1) เปลี่ยนลำดับ ความสำคัญของประเด็น (Agenda setting) (2) การแบ่งทรัพยากร เช่น ดินแดน เงิน (Resources Chare) (3) Tradeoffs (4) การ จัดการทรัพยากรร่วมกัน (5) ให้ผู้อื่นเป็นจัดการ ทรัพยากร หรือประเด็นที่เป็นปัญหา (6) พยายาม ที่จะไม่จำ หรือ ลืมความขัดแย้งที่เกิดขึ้น (7) Conflict Management/ Resolution (8) สังคมจะมีวิธีการในการจัดการกับความขัดแย้ง เช่น สังคมตะวันตกมีระบบศาล (Adversarial System) (9) Conflict Prevention John Burton อาจใช้วิธีต่างๆ ดังนี้ คือ (1) เปลี่ยนลำดับ ความสำคัญของประเด็น (Agenda setting) (2) การแบ่งทรัพยากร เช่น ดินแดน เงิน (Resources Chare) (3) Tradeoffs (4) การ จัดการทรัพยากรร่วมกัน (5) ให้ผู้อื่นเป็นจัดการ ทรัพยากร หรือประเด็นที่เป็นปัญหา (6) พยายาม ที่จะไม่จำ หรือ ลืมความขัดแย้งที่เกิดขึ้น (7) Conflict Management/ Resolution (8) สังคมจะมีวิธีการในการจัดการกับความขัดแย้ง เช่น สังคมตะวันตกมีระบบศาล (Adversarial System) (9) Conflict Prevention John Burton