Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ต้องอย่างนี้ซิ! ถึงจะปรับปรุงงานได้จริง
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การศึกษารายกรณี.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง High Performance Organization
PDCA คืออะไร P D C A.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนโครงการ.
เครื่องมือคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 1.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
Benchmarking.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Participation : Road to Success
KAIZEN ( ไค-เซ็น ).
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
เราเป็นผู้นำ.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การบริหารจัดการ PDCA cycle
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การเขียนโครงการ.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
Educational Standards and Quality Assurance
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์ COUSE NAME Educational Standards and Quality Assurance KAIZEN เสนอ ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์ โดย นางวิภา สายรัตน์ รหัส 53010560013

ความหมายของไคเซน KAIZEN

“ไคเซ็น กุญแจสู่ความสำเร็จแบบญี่ปุ่น เครื่องมือสำคัญ ความหมายของไคเซ็น ไคเซ็น (Kaizen) เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่าการปรับปรุง โดยเป็นคำธรรมดาสามัญที่ใช้ในการพูดการเขียนของคนญี่ปุ่น เช่นเดียวกับคำว่าการปรับปรุงในภาษาไทย แต่คำว่าไคเซ็น ได้กลายเป็นคำที่ถูกหยิบยกมาให้ความสำคัญจนเป็นหลักการที่นำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้าของประเทศญี่ปุ่น เป็นหลักการที่ถูกหยิบยกมาเขียนเป็นตำรา “ไคเซ็น กุญแจสู่ความสำเร็จแบบญี่ปุ่น เครื่องมือสำคัญ เพื่อประสบชัยชนะในการบริหารการผลิต และการตลาด”

นิพนธ์ บัวแก้ว ไคเซ็น เป็นภาษาญี่ปุ่นที่มีความหมายถึงการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตลอดไป (Continual Improvement) เนื่องจาก ไค (KAI) แปลได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลง (change) และเซ็น (ZEN) หมายถึง ดี (good) โดย ไคเซ็นเป็นแนวความคิดของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องที่เน้นการมีส่วนร่วม (Participation) ของทุกคนเป็นหลัก และเชื่อในเรื่องปริมาณของสิ่งที่ทำการปรับปรุงมากกว่าผลที่ได้จากการปรับปรุง (Return of Improvement)

สมบัติ นพรัก ไคเซ็น (Kaizen) เป็นภาษาญี่ปุ่น หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้ง และยังหมายถึง วิธีการดำเนินการปรับปรุง ที่เกี่ยวข้องกับทุกคน ทั้งผู้บริหาร และผู้ร่วมงาน ปรัชญาของไคเซ็นถือว่าวิถีชีวิตของคนเราเป็นชีวิตแห่งการทำงาน ชีวิตทางสังคม และชีวิตทางครอบครัวที่ควรจะได้รับการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ

สรุป ความหมายของไคเซ็น ไคเซ็น เป็นศัพท์ภาษาญี่ปุ่น ซึ่งถอดความหมายจากศัพท์ได้ว่า การปรับปรุง (Improvement) โดยเป็น แนวคิดที่นำมาใช้ในการบริหารการจัดการการอย่างมีประสิทธิผล โดยมุ่งเน้นที่การมีส่วนร่วมของพนักงานทุกคน ร่วมกันแสวงหาแนวทางใหม่ๆ เพื่อปรับปรุงวิธีการทำงานและสภาพแวดล้อมในการทำงานให้ดีขึ้นอยู่เสมอ หัวใจสำคัญอยู่ที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด (Continuous Improvement) ไคเซ็นจึงเป็นแนวคิดที่จะช่วยรักษามาตรฐานที่มีอยู่เดิม (Maintain) และปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น (Improvement)

ประโยชน์ของการทำไคเซ็น การสนับสนุนให้เกิด "การใช้ความคิด" ไม่ใช่ "การตรากตรำทำงาน" มุ่งที่จะลด/เลิกภาระที่ไม่จำเป็น เปลี่ยนไปสู่วิธีอื่นที่เหมาะสมกว่า ระบบไคเซ็นจะเป็นไปได้เมื่อผู้ทำเห็นว่าการทำไคเซ็นนั้นเป็นประโยชน์ต่อตนเอง และทำไปด้วยความเต็มใจ

คุณลักษณะของกิจกรรมไคเซ็น โกศล ดีศีลธรรม กล่าวไว้ว่าโดยทั่วไปกิจกรรม ไคเซ็นจะมี 2 มุมมอง นั่นคือ การให้ความสนใจต่อการดำเนินงานหรือการผลิตแบบเซลล์ การไหลของระบบงานที่มุ่งปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร

ลักษณะสำคัญของไคเซ็น 1) มุ่งดำเนินการในช่วงระยะเวลาอันสั้น (Short-term) 2) มุ่งการทำงานเป็นทีม (Team-oriented) 3) การมุ่งจุดเน้น (Highly Focused) 4) มุ่งเน้นการปฏิบัติการ (Action-oriented) 5) สามารถทวนสอบด้วยมาตรวัด (Verifiable Metrics) 6) การดำเนินซ้ำ (Repetitive)

ขอบเขตการใช้ไคเซนปรับปรุง ขั้นตอนการวางแผนดำเนินการ 6.การติดตามวัดผล 5.กำหนดช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม 4.การเตรียมการล่วงหน้า 3.การสนับสนุนจากผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง 2.การคัดเลือกทีมงาน 1.กำหนดพันธกิจ

แนวทางและขั้นตอนในการปรับปรุงแบบไคเซน ชำนาญ รัตนากร 1. ค้นหาปัญหาและกำหนดหัวข้อแก้ไขปัญหา 2. วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน 3. วิเคราะห์สาเหตุ 4. กำหนดวิธีการแก้ไข 5. ใครเป็นคนทำและทำอย่างไร 6. ลงมือดำเนินการ 7. ตรวจดูผลและผลกระทบ

กิจกรรมไคเซ็นตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) P-Plan การวางแผนจะมีการศึกษาปัญหาพื้นที่หรือกระบวนการที่ต้องการปรับปรุงและจัดทำมาตรวัดสำคัญ (Key Metrics) สำหรับติดตามวัดผล การนำผลลัพธ์หรือแนวทางในช่วงของการวางแผนมาใช้ดำเนินการสำหรับ Kaizen Events ภายในช่วงเวลาอันสั้นโดยมีผลกระทบต่อเวลาทำงานน้อยที่สุด D-Do C-Check มาตรวัดที่จัดทำขึ้นสำหรับติดตามวัดผลการดำเนินกิจกรรมตามวิธีการใหม่ (New Method) เพื่อเปรียบวัดประสิทธิผลกับแนวทางเดิม นำข้อมูลที่วัดผลและประเมินในช่วงของการตรวจสอบเพื่อใช้สำหรับดำเนินการปรับแก้ (Corrective Action) ด้วยทีมงานไคเซ็น A-Act

วิธีคิดเพื่อหาทางปรับปรุงตามแนวคิดไคเซ็น What? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาจุดประสงค์ของการทำงาน When? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาเวลาในการทำงานที่เหมาะสม Where? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาสถานที่ทำงานที่เหมาะสม Who? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาบุคคลที่เหมาะสมสำหรับงาน How? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสำหรับงาน Why? เป็นการตั้งคำเป็นคำถามที่ถามครั้งที่ 2

บทบาทของผู้บริหารต่อความสำเร็จของไคเซ็น 1) เป็นผู้นำและริเริ่มการเปลี่ยนแปลงด้วยไคเซ็น 2) เป็นประธานในการนำเสนอผลงานความคิดของพนักงานในองค์กร 3) นำเสนอรางวัลและให้คำรับรอง เพื่อให้เกิดการยอมรับ (Recognition) 4) มีการติดตามการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ

Thanks