สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
สถานการณ์โรค เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดชัยภูมิ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
VDO conference dengue 1 July 2013.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ประเด็นปัญหาสาธารณสุขและแผนงานโครงการ ตำบลห้วยไร่ ปี 2557
ไข้เลือดออก.
ประเด็นการตรวจราชการ
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
กลุ่มเป้าหมาย มี 2 กลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายที่ สปสช จะคืนวัคซีนและงบชดเชยให้ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายกระทรวง คิดผลงานของกระทรวง ( ร้อยละ 90 ของวัคซีน.
แนวทางการดำเนินงาน วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตาม ฤดูกาล 2554 จังหวัดอุดรธานี
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
งานควบคุมโรคติดต่อ งานระบาดวิทยา เอดส์และกามโรค , ทันตะฯ
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
3. ทีม อสม. สุ่มแลกเปลี่ยนหมู่บ้าน 3 เดือน/ครั้ง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554

สถานการณ์โรค ไข้เลือดออก

มีแนวโน้ม ที่จะเกิน เป้าหมาย

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก รายล่าสุด วินิจฉัย D.H.F. syndrome ป่วยวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รักษาที่ รพ. ป่าติ้ว พื้นที่ บ้านกระจาย ต. กระจาย อ. ป่าติ้ว จ. ยโสธร

อำเภอป่าติ้ว สูงกว่า เป้าหมาย

สรุป Web Conferenc e 26 กค. 54

จากการติดตามของทีม SRRT ในระดับ จังหวัด พบสาเหตุของการระบาด พอจะ สรุปได้ดังนี้ การดำเนินการควบคุมโรคยังขาด ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ ควบคุมแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย ยัง ขาดความละเอียด ไม่ทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายในภาชนะภายนอก บ้าน ค่า HI, CI ไม่เป็น 0 การรายงานโรคล่าช้า ส่งผลทำให้ การควบคุมโรคในพื้นที่ที่มีการระบาด ล่าช้าไปด้วย

การดำเนินการควบคุมโรคหลังได้รับ รายงานยัง ดำเนินการไม่ครอบคลุม พื้นที่ที่มีการระบาด และหลายพื้นที่ มี ปัญหาเรื่องเครื่องพ่นชำรุดไม่พร้อม ใช้งาน การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายยัง ดำเนินการไม่ต่อเนื่อง ซึ่งจากการติดตามของทีม SRRT ใน ระดับจังหวัด พบสาเหตุของการระบาด ( ต่อ )

มาตรการดำเนินการทุกรพ. สต. / อำเภอดังนี้ ให้ถือว่าการควบคุมโรคไข้เลือดออก เป็นนโยบายเร่งด่วนของรพ. สต./ อำเภอที่จะต้องดำเนินการ ให้ตำบลที่มีการระบาดทุกตำบล ทำ ประชาคมชาวบ้านเพื่อหาแนว ทางการควบคุมการระบาดในพื้นที่

ขอให้ทุกอำเภอเร่งรัด ปฏิบัติการ ยโสธร ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3 ชั่วโมงแรก คือการรายงานโรค ให้ถึง อสม. ภายใน 3 ชั่วโมง ใน ภาคเช้า ตั้งแต่ 8.00 น. ให้ถึง น. และในภาค บ่าย ตั้งแต่เวลา น. ถึง น 3 ชั่วโมงหลัง คือการควบคุมโรคโดย อสม. คือให้ อสม. เข้าไป Knock Down และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่ บ้านผู้ป่วย และต้องรายงานผลการปฏิบัติ กลับมา ถึง สสจ. ภายใน น. หลัง ได้รับรายงานในภาคเช้า และ ภายใน น. หากได้รับรายงานในภาคบ่าย 1 คือ การพ่นยุงภายใน 24 ชั่วโมงหรือ ใน วันรุ่งขึ้น

มาตรการดำเนินการทุกรพ. สต. / อำเภอดังนี้ - ทุก รพ. สต. ประสานร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และ อสม. รณรงค์ ให้ความรู้แก่ประชาชนทั้งทางตรง และ ผ่านสื่อต่างๆโดยใช้หลัก 5 ร, 5 ป - 5 ร คือ โรงเรือน, โรงเรียน, โรงพยาบาล, โรงงาน และโรงทานหรือ วัด - 5 ป คือ ปิด ปล่อย เปลี่ยน ปรับ และ ปฏิบัติ

การประเมินผลประสิทธิภาพการ ปฏิบัติการ กรณีพบ ผู้ป่วย วินิจฉัย D.H.F. syndrome ป่วยวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รักษาที่ รพ. ป่า ติ้ว พื้นที่ บ้านกระจาย ต. กระจาย อ. ป่า ติ้ว จ. ยโสธร

การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ประจำปี 2554 อำเภอป่าติ้ว ระยะรณรงค์ : 1 มิถุนายน - 31 สิงหาคม 2554 กลุ่มเป้าหมาย : 1. บุคลากรสาธารณสุข + ทีมทำลายไก่ 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง - หญิงมีครรภ์ (7 เดือน + ) - โรคอ้วน (>100 กก. หรือ BMI >35 kg./m 2 ) - ผู้พิการทางสมอง - ผู้ป่วยเรื้อรัง - ผู้สูงอายุ 65 ปี + - เด็ก 6 เดือน – 2 ปี

- เร่งรัดให้ทุก รพ. สต. คีย์ข้อมูล การฉีดผ่านเวปไซด์ สปสช. fluenzaibatis/FrmLogin.actio n ภายใน 31 สิงหาคม fluenzaibatis/FrmLogin.actio n - ให้เบิกวัคซีนไข้หวัดใหญ่พร้อม วัคซีน 0 – 72 แห่งละ 50 โด๊ส รายการเบิกจะส่งให้ รพ. ภายในวัน พฤหัสบดี