และทีมงานสำนักงานปศุสัตว์อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
สุขภาพสัตว์และการอนามัย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.ดร. เสริมศรี ไชยศร และ รศ.ดร.ดาราวรรณ.
บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
รวบรวมเทคนิคและเคล็ดลับการสอบสวนโรค ประสบการณ์ภาคสนาม
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
ระบบจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
การให้น้ำยางพาราปลูกใหม่ในช่วงฤดูแล้ง
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ
โรงพยาบาลอานันทมหิดล
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
สาขาโรคมะเร็ง.
จำนวนศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ในพื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต4
Wound healing with Whirlpool Whirlpool
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
Nipah virus.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดชลบุรี
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

และทีมงานสำนักงานปศุสัตว์อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม รายงานสัตว์ป่วย: การออกสอบสวนโรคในโคนมในพื้นที่ บ.โนนราษี อ. บรบือ จ.มหาสารคาม สาทิส ผลภาค ปริญญาพร เพราะดีสกุล ชาติชาย แก้วเรือง วรลักษณ์ ศิริมณี และทีมงานสำนักงานปศุสัตว์อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจังหวัดขอนแก่น

ที่มา ทางศวพ.ขอนแก่นได้รับแจ้งจากทางสำนักงานปศุสัตว์อำเภอบรบือ จ.มหาสารคามว่าพบโคนมสาวท้องที่บ้านโนนราษี ป่วยตาย 1ตัวด้วยอาการคล้ายกับการติดพยาธิในเลือด และมีโคนมกำลังป่วยรอการรักษา อีกจำนวน 3 ตัว ซึ่งจากการสอบประวัติโคนมฝูงนี้พบจำนวนโคนมทั้งหมดในฝูงมีประมาณ 37 ตัว มีโครีดนม จำนวน 23 ตัว รีดนมได้วันละประมาณ 300 กก.ต่อวัน ทางศวพ.ขอนแก่นได้ออกสอบสวนโรคพร้อมกับทีมงานปศอ.บรบือในวันที่ 27 กพ.2557

สภาพการจัดการฟาร์มและโคนม

น้ำ

อาหารหยาบฟางและเปลือกมันเส้น 1ถัง/2ตัว/คาบ

อาหารข้น

เจ้าของฟาร์ม

เก็บเหา

วัดไข้และตรวจเยื่อเมือก

เจาะเลือดเก็บซีรัมและทำเลือดป้ายสไลด์

เก็บตัวอย่างปัสสาวะ อุจจาระ

ประมาณขนาดโค ตรวจการทำงานหัวใจ(systolic/diastolic) ปอด กระเพาะอาหารและอื่นๆ โดยลงบันทึกในแบบฟอร์มอย่างเป็นระบบ

ผลการสอบถามประวัติโคนมเบื้องต้นมีดังนี้ Name Age BCS Parity Status Duration Milk yield Kg Cow_ID year (5-1) of sickness before after Kamlai 2.5 preg-heifer 3 days . Chabar 8 2 3 Millking(8 mon) 5 days 20 10 Mai 5 1 Milking 2 days <1

Clinical examination

Laboratory (Hemato-Biochem)results visit Cow_ID PCV Hb MCHC Wbc 1 Kamlai 15 5.34 35.60 7800 Chabar 12 5.2 43.33 4350 Mai 9 4 44.44 . % g/dl cell/cumm

Blood and faecal examination Blood parasites Internal parasites visit Cow_ID Theileria spp. Anaplasma marginale GI-nematode Param 1 Kamlai +1 Chabar +3 . Mai +2

Blood parasites and Rbc color&shape Anaplasma marginale Hypochromic anemia Theileria spp. Anaplasma marginale

Urine test by Combur® 10 test(Roche) Hemoglobinuria

Treatment/Drug of choice Oxytetracyclin LA ทุก 2 วัน อย่างน้อย 3 ครั้ง******ตามด้วยฺBerenil*** Drug of choice for treatment of Blood parasites   DRUG Berenil Imizole Oxy_LA BUPARVEX Agents A. marginale yes B. bigemina B. bovis Theileria spp. T. evansi

เวชภัณฑ์ที่ใช้รักษาโค – กระบือที่ติดโรคพยาธิในเลือด Berenil 3.5 – 5.0 mg/Kg

Outbrake = No controls + carriers + Susceptible animals + Vectors ข้อสังเกต ในโคป่วยที่ตรวจพบเชื้อดังกล่าว เมื่อแสดงอาการดีซ่านชัดเจนแล้ว และมีอาการไข้สูง เมื่อตรวจพบค่าความเข้มข้นเม็ดเลือดแดงต่ำ (PCV< 10%) ไม่ควรไล่สัตว์ที่นอนอยู่ให้ลุกขึ้นอาจทำให้สัตว์ Shock ตายได้ ในบางครั้งนอกจากการรักษาด้วยยาแล้วอาจต้องพิจารณาให้เลือด(blood transfusion ) ร่วมด้วย Outbrake = No controls + carriers + Susceptible animals + Vectors

Discussion อาการของการติดพยาธิในเลือดที่พบโคนมไม่แน่นอน เนื่องจากโคสามามารถติดพยาธิได้มากกว่า 1 ชนิดในครั้งเดียวกัน ควรเก็บตัวอย่างเพื่อยืนยันหาสาเหตุและจำแนกชนิดก่อนการรักษาแบบเจาะจง ชนิดพาหะและฤดูกาลสามารถจำแนกชนิดพยาธิในเลือดได้ระดับหนึ่ง สาเหตุโน้มนำที่ทำให้เกิดการระบาดของเชื้อ ตัวอย่าง อากาศร้อนจัด โคสาวท้อง โคให้ผลผลิตปริมาณน้ำนมที่สูง ปริมาณและชนิดแมลงพาหะนำโรคที่ชุกชุม ชนิดยาที่ให้ผลเชิงทั้งรักษาและป้องกันโรคไข้เห็บโคหาได้ยากในท้องตลาด ตย.อิมมิโซล ค่าทางชีวเคมี โดยเฉพาะBilirubin&BUN/AST&CKจะบอกระยะเวลาและความรุนแรงของโรคได้ระดับหนึ่งและใช้ติดตามผลการรักษา

Output-Outcome-Impact โคป่วยที่เหลือทั้ง 3 ตัวและตัวที่ป่วยใหม่เพิ่มอีก 2 ตัวไม่ตาย เกษตรกรได้ผลผลิตน้ำนมเพิ่มขึ้นจากเดิม เกษตรกรได้หัดสังเกตุอาการป่วยและเลือกวิธีการรักษาที่ถูกต้อง เกษตรกรได้เรียนรู้การเก็บตัวอย่างเบื้องต้น เป็นแนวทางให้การควบคุมและการรักษาโรคพยาธิในเลือดในโคนมให้แก่เจ้าหน้าที่และเกษตรกรในเขตพื้นที่อำเภอบรบือต่อไป

Follow up by district vet.on 5/03/2014

บันทึกประวัติโคนมตามฟอร์มที่ศวพ.ได้ให้ไว้

แบบฟอร์มส่งตัวอย่างจากทางสนง.ปศุสัตว์อำเภอบรบือ

เก็บตัวอย่างเลือดและตรวจเยื่อเมือก

เก็บตัวอย่างอุจจาระโดยเจ้าของฟาร์มโคนม

โคนมป่วยเข้าซองรอตรวจและการเก็บตัวอย่างปัสสาวะ

คุณภาพตัวอย่าง: ซีรัมแยกแล้วกับเลือดในสารกันแข็งตัว

ตัวอย่างอุจจาระและเลือดป้ายสไลด์

ตัวอย่างน้ำปัสสาวะและการตรวจด้วยแถบวัดสำเร็จรูป

Hematology test visit ID PCV Hb MCHC Wbc 1 Kamlai 15 5.34 35.60 7800 Chabar 12 5.2 43.33 4350 Mai 9 4 44.44 . % g/dl cell/cumm 2 7.3 48.6 3300 clot 14 7.21 51.5 8100 7.94 56.7 5700 Tumm 17 9.12 53.6 3250 Yarr 16 6.6 44 14050

Blood chem analysis visit Cow_ID Bil AST BUN Creat CK TP Alb Glob A:G 1 Kamlai 3.22 81 31.3 1.97 138 6.35 3.16 3.19 0.99 Chabar 35.7 1.89 111 6.61 3.44 3.17 1.09 Mai 2.54 123 27.6 1.41 335 5.3 2.93 2.37 1.23 mg/dl u/l g/dl 2 1.1 49 16.3 1.46 28 7.12 3.21 3.91 0.82 51 17.3 25 7.44 4 0.86 0.96 85 1.16 42 5.85 2.47 3.38 0.73 Tumm 1.17 135 39.6 2.45 1452 7.03 2.6 4.43 0.59 Yar 0.84 47 14.2 1.38 26 7.06 2.42 4.64 0.52

Blood and faeces examination Blood parasites Internal parasites visit Cow_ID Theileria spp. A marginale B. bigemina Param GI-nematode 1 Kamlai +1 . Chabar +3 Mai +2 2 Tumm Yar

สรุป พบการติดพยาธิในเลือด จำนวน 3 ชนิดในโคนม ได้แก่เชื้อ A. marginale , Babesia bigemina, Theileria spp. แต่ความรุนแรงน่าจะเกิดจากเชื้อ Babesia bigemina การรักษาเจ้าของใช้ยาทั้ง Berenil & Oxy LA หลังโคตาย 1 ตัว ขายทิ้งอีก 1 ตัว มีป่วยเพิ่มอีก 5 ตัว แต่รักษาทันไม่ตายทั้งหมด ผลผลิตน้ำนมดิบตัวป่วยหลังการรักษามีเพิ่มขึ้น ใช้เป็นโมเดลในการออกสอบสวนโรคให้ทางปศุสัตว์อำเภอได้ฝึกนำไปปฏิบัติจริงในการตรวจอาการสัตว์ เก็บตัวอย่างพื้นฐานและการบันทึกประวัติโคป่วยอย่างเป็นระบบเพื่อส่งตรวจยังห้องปฏิบัติการได้ เป็นอย่างดี(Good practice)ในกรณีที่พบโคป่วยตายไม่ทราบสาเหตุ

ขอบคุณครับ