การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง

เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
Sampling Distribution
การประมาณค่า (Estimation)
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การประมาณค่าทางสถิติ
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
การแจกแจงปกติ.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
หลักการแปลผล สรุปผล II
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
Chi-square Test for Mendelian Ratio
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผู้วิจัย นางประชุมพร รุ่นประพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
การทดสอบสมมุติฐาน Hypothesis Testing.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
= = = = = = = = = =1 Sum = 30 Sum = 16 N = 10 N-1 = 9.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร Testing statistics t-TEST F-Test Chi-square TEST Z-TEST เปรียบเทียบ 2 กลุ่ม ทดสอบค่าเฉลี่ย 1 กลุ่ม กับค่าเฉลี่ยที่กำหนด เปรียบเทียบ > 2 กลุ่ม (ANOVA)

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่มกับค่าที่กำหนด สมมุติฐานทางสถิติ โจทย์วิจัย การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่างจากที่ควรได้ 100 ถังต่อไร่หรือไม่? Z-test

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่มกับค่าที่กำหนด โจทย์วิจัย การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่างจากที่ควรได้ 100 ถังต่อไร่หรือไม่? กำหนดให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่า 25 ถังต่อไร่ สุ่มตัวอย่างที่นาที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์จำนวน 9 แปลง 120 130 80 85 45 90 95 70 75 Z-test โจทย์กำหนด ได้จากตัวอย่างที่สุ่ม

การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่มกับค่าที่กำหนด (2) 3. คำนวณค่า Z 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติที่ใช้ทดสอบคือ Z เมื่อ 4. สรุปผล

การสรุปผล นำค่า Z ที่คำนวณได้ เทียบกับค่า Z จากตารางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น ที่กำหนด ถ้าค่า |Z| ที่คำนวณได้ น้อยกว่า Z จากตารางสถิติ แสดงว่ายอมรับ Ho ตารางทางสถิตินิยมแสดงความเชื่อมั่นในรูป นัยสำคัญ โดยความเชื่อมั่นมีค่าเท่ากับ 1 -  เมื่อ  เป็นระดับนัยสำคัญดังนั้น หากทดสอบ HA เป็น  ให้ใช้ /2 ความเชื่อมั่น นัยสำคัญ 99% 0.01 95% 0.05 90% 0.10

การอ่านค่าวิกฤตจากตารางทางสถิติ Z ระดับนัยสำคัญ ( ) ระดับนัยสำคัญ ( )  = 0.05 ความเชื่อมั่น = 0.95 ความเชื่อมั่น /2 = 0.025 ความเชื่อมั่น = 0.975 Z/2 = Z0.025 = 1.96

ค่าวิกฤต (Critical value) Z.025 =1.96 1. ตั้งสมมุติฐาน 4. สรุปผล ค่าวิกฤต (Critical value) Z.025 =1.96 2. ตัวสถิติที่ใช้ทดสอบคือ Z เมื่อ Z จากที่ได้ Z =-1.47 |Z| = 1.47 |Z| < 1.96 ดังนั้น ยอมรับ Ho แสดงว่าเมื่อใช้ปุ๋ยอินทรีย์ผลผลิตข้าวไม่แตกต่างจาก 100 ถังต่อไร่ที่ความเชื่อมั่น 95% 3. คำนวณค่า Z