โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Product and Price ครั้งที่ 8.
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
Lesson 11 Price.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
กลไกราคากับผู้บริโภค
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
Chapter4 Logistic & Supply chain Management
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ 1/2551

การกำหนดราคาสินค้าในตลาด โครงสร้างตลาด (Market Structure) เศรษฐศาสตร์จำแนกตลาดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดผูกขาด ตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด sasitorn

การแบ่งโครงสร้างตลาดพิจารณาจากเงื่อนไขต่างๆดังนี้ จำนวนผู้ขายในตลาด ความแตกต่างของสินค้า ความยากง่ายในการเข้าสู่ตลาด sasitorn

การจำแนกประเภทตลาด ประเภทตลาด จำนวนผู้ขาย ลักษณะสินค้า การเข้าสู่ตลาด แข่งขันสมบูรณ์ มากราย เหมือนกันทุกประการ ไม่มีข้อกีดขวาง ผูกขาด หนึ่งราย มีข้อกีดขวาง ผู้ขายน้อยราย 2-3 ราย แตกต่างกันแต่ใช้แทนกันได้ ได้ยากและมีการรวมกลุ่มผู้ขาย กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด แตกต่างที่ตัวผลิตภัณฑ์ sasitorn

1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ขายและผู้ซื้อมีจำนวนรายมาก สินค้ามีลักษณะและคุณภาพใกล้เคียงกันมาก ผู้ผลิตรายใหม่ๆ สามารถเข้าสู่ตลาดได้โดยง่าย สามารถเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังที่ต่างๆ ได้สะดวกโดยเสียค่าใช้จ่ายต่ำ ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับตลาด sasitorn

เส้นอุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญมาจากราคาดุลยภาพของตลาด P S D Q ปริมาณผลผลิต ราคา D = AR = MR แสดงราคาดุลยภาพของตลาด และเส้นอุปสงค์ที่ผู้ผลิตแต่ละรายเผชิญอยู่ ซึ่งเป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน และเป็นเส้นเดียวกับเส้น AR และ MR ผู้ขายแต่ละรายในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ควรจะขายสินค้าตามราคาตลาด ซึ่งเท่ากับ OP sasitorn

ดุลยภาพผู้ผลิตในระยะสั้น ผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ต้องการกำไรสูงสุด เงื่อนไขการผลิตที่ได้กำไรสูงสุดคือ MC = MR รายรับ, ต้นทุน, ราคา MC AC E 20 MR = AR = P = D กำไร AVC 15 MC = MR AR > AC กำไรเกินปกติ ปริมาณสินค้า Q* = 100 sasitorn

ดุลยภาพระยะสั้นของหน่วยผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ D = AR = MR AC MC P C a b Q กำไรเกินปกติ ปริมาณผลผลิต ต้นทุน,รายได้ แสดงดุลยภาพของผู้ผลิตแต่ละรายซึ่งเป็นสภาวะที่ผู้ผลิตแต่ละรายได้รับกำไรสูงสุด จุดที่ MC = MR คือจุด a จากจุด a จะกำหนดราคาเท่ากับหน่วยละ OP บาทและกำหนดปริมาณผลผลิต เท่ากับ OQ หน่วย sasitorn

กรณีที่ผู้ผลิตได้รับกำไรปกติ MC รายรับ, ต้นทุน, ราคา AC E AVC 15 MR = AR = P = D จุดคุ้มทุน (Break even point) MC = MR AR = AC ปริมาณสินค้า Q* = 80 sasitorn

กรณีผู้ผลิตขาดทุน MC รายรับ, ต้นทุน,ราคา AC 40 A AVC B 35 MR1 = AR1 = P1 = D1 30 E1 E2 MR2=AR2=P2=D2 20 จุดยุติการผลิต (Shut down point) MC = MR AR = AVC ปริมาณสินค้า 50 60 sasitorn

ดุลยภาพผู้ผลิตในระยะยาว ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ในระยะยาวผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะได้รับเฉพาะกำไรปกติเท่านั้น รายรับ, ต้นทุน, ราคา LMC LAC E Pe MR = AR = D =P Qe ปริมาณสินค้า sasitorn

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ในระยะสั้น ในระยาว ผู้ผลิตหรือผู้ขายอาจได้รับกำไรเกินปกติ หรือกำไรปกติ หรือขาดทุนก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต ในระยาว ผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะกำไรปกติเท่านั้น sasitorn

2. ตลาดผูกขาดแท้จริง มีผู้ผลิตหรือผู้ขายเพียงรายเดียว เรียกว่าผู้ผูกขาด (monopolist) สินค้ามีคุณลักษณะพิเศษไม่เหมือนใคร ไม่สามารถหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้ ผู้ผลิตสามารถกีดกันผู้อื่นไม่ให้เข้ามาผลิตแข่งขันด้วยสาเหตุใดๆ ก็ตาม sasitorn

ดุลยภาพระยะสั้นของตลาดผูกขาด MC AC D = AR MR กำไรเกินปกติ ราคา , ต้นทุน ปริมาณผลผลิต P C Q E F ดุลยภาพของผู้ผูกขาด ตามเงื่อนไขกำไรสูงสุด MC = MR ได้ปริมาณผลผลิตดุลยภาพเท่ากับ OQ ราคาดุลยภาพเท่ากับ OP ตลาดที่มีการผูกขาด ราคาสินค้าจะสูงกว่า MC เสมอ sasitorn

3. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ลักษณะหลายประการเหมือนตลาดแข่งขันสมบูรณ์  มีหน่วยผลิตจำนวนมาก  ผู้ผลิตรายใหม่สามารถเข้าสู่ตลาดได้ง่าย แตกต่างมีเพียงประการเดียว  สินค้าของผู้ผลิตแต่ละรายมีความแตกต่างกัน ความแตกต่างนี้อาจเป็น  รูปลักษณ์ของสินค้า  ความรู้สึกนึกคิดของผู้บริโภคอันเกิดจากอิทธิพลของการโฆษณา sasitorn

4. ตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดที่ประกอบด้วยผู้ขาย 2 รายขึ้นไปในตลาด ลักษณะที่สำคัญของตลาดผู้ขายน้อยราย เมื่อผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งเปลี่ยนแปลงราคาและจำนวนผลผลิตที่ขาย จะกระทบกระเทือนถึงคู่แข่งและมีการตอบโต้จากคู่แข่ง แบ่งได้ 2 ลักษณะ ผู้ผลิตแต่ละรายผลิตสินค้าเหมือนกันทุกประการ จะแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา ผู้ผลิตแต่ละรายผลิตสินค้าแตกต่างกันแต่ใช้ทดแทนกันได้ sasitorn

Good Luck for Mid-term Examination The End Good Luck for Mid-term Examination