วงรี ( Ellipse).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
Advertisements

ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
พาราโบลา (Parabola).
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ความเท่ากันทุกประการ
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
อสมการ (Inequalities)
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
พีระมิด.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
สมาชิกในกลุ่ม นายจารินทร พุ่มกลั่น เลขที่ 2 นายสุทธิพร พันธุ์ดี เลขที่ 11 นางสาวเพ็ญนภา คูณเดช เลขที่ 21 นางสาวรุ่งนัดดา อ่อนพิมพ์ เลขที่ 35 นางสาวกมลทิพย์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงรี ( Ellipse)

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เขียนความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็นวงรี เมื่อกำหนดส่วนต่าง ๆ ของกราฟวงรีให้ และเขียนกราฟของความสัมพันธ์นั้นได้ 2. เมื่อกำหนดส่วนต่าง ๆ ของกราฟวงรีให้ สามารถเขียนความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็นรูปวงรีได้ 3. นำความรู้เรื่องวงรีไปใช้แก้ปัญหาได้

บทนิยาม วงรี คือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆ ในเซตนี้ ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบมีค่าคงตัว โดยค่าคงตัวมากกว่าระยะห่างระหว่าง จุดคงที่ทั้งสอง Y จุดใดๆ จุดคงที่ จุดคงที่ จากบทนิยาม จุดคงที่ เรียกว่า โฟกัสของวงรี X จุดศูนย์กลาง

P(x,y) a F c b ส่วนต่างๆของวงรี แกนโท B จุดโฟกัส จุดโฟกัส จุดศูนย์กลาง A A F F X จุดยอด c b จุดยอด แกนเอก B

จุดกึ่งกลางระหว่างโฟกัสทั้งสองเรียกว่า จุดศูนย์กลางของวงรี จุดที่เส้นตรงซึ่งลากผ่านโฟกัสทั้งสองตัดวงรีคือ A และ A เรียกว่า จุดยอดของวงรี ส่วนของเส้นตรง AA เรียกว่าแกนเอก ( major axis ) ยาว 2a หน่วย ส่วนของเส้นตรง BB เรียกว่าแกนโท ( minor axis ) ยาว 2b หน่วย ให้ P(x , y) เป็นจุดใดๆ บนวงรี ระยะระหว่างโฟกัสทั้งสองเท่ากับ 2c หน่วย จากบทนิยาม จะได้ PF + PF = 2a ( ค่าคงตัว ) โดยที่ 2a > 2c

1. วงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด ( 0 , 0 ) 1. วงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด ( 0 , 0 ) 1) แกนเอกอยู่บนแกน X Y แกนโท (0,b) B P(x , y) โฟกัส โฟกัส b c A X (-a,0) A (a,0) F(c,0) C(0,0) F(-c,0) จุดยอด จุดยอด a แกนเอก B (0,-b)

ให้ P( x ,y ) เป็นจุดใดๆ บนวงรี จะได้สมการ โดยที่ a > b และ b2 = a2 - c2 เป็นสมการวงรีที่มี 1. จุดศูนย์กลางที่จุด C(0 , 0) 2. โฟกัสอยู่ที่จุด F(c , 0) และ F(- c , 0) 3. จุดยอดอยู่ที่จุด A(a , 0) และ A(- a , 0) 4. แกนเอกอยู่บนแกน X ***5. ผลบวกของระยะทางจากจุด P(x ,y) ใดๆบนวงรีไปยังโฟกัสทั้งสอง มีค่าคงตัวเท่ากับ 2a หน่วย

2) แกนเอกอยู่บนแกน Y a c b จุดยอด แกนเอก A (0,a) โฟกัส a F (0,c) c แกนโท b B (-b,0) B (b,0) C(0,0) X โฟกัส F (0,-c) P(x,y) A (0,-a) จุดยอด

ให้ P( x ,y ) เป็นจุดใดๆ บนวงรี จะได้สมการ โดยที่ a > b และ b2 = a2 - c2 เป็นสมการวงรีที่มี 1. จุดศูนย์กลางที่จุด C( 0 , 0 ) 2. โฟกัสอยู่ที่จุด F( 0 , c ) และ F( 0 , - c ) 3. จุดยอดอยู่ที่จุด A( 0 , a ) และ A( 0 , - a ) 4. แกนเอกอยู่บนแกน Y ***5. ผลบวกของระยะทางจากจุด P( x ,y ) ใดๆบนวงรีไปยังโฟกัส ทั้งสองมีค่าคงตัวเท่ากับ 2a

ตัวอย่างที่ 1 จากสมการของวงรี 9x2 + 4y2 = 36 จงหาโฟกัส จุดยอด จัดสมการให้อยู่ในรูปมาตรฐานโดยนำ 36 หารตลอดทั้งสองข้างของสมการ จะได้ สมการ หรือ เป็นวงรีที่มีแกนเอกบนแกน Y และ a2 = 9 , a = 3 b2 = 4 , b = 2 หาค่า c จาก b2 = a2 - c2 c2 = 9 – 4 c = ดังนั้น โฟกัสอยู่ที่ F(0 , c) = ( 0 , ) และ F(0 , c) = (0 , - ) จุดยอดอยู่ที่จุด A(0 , a) = ( 0 , 3 ) และ A(0 , a ) = (0 , - 3 )

เขียนกราฟได้ดังนี้ a c B (-2,0) Y จุดยอด โฟกัส แกนเอก F (0, ) แกนโท (0,3) โฟกัส แกนเอก F (0, ) a c แกนโท B' (2,0) B (2,0) X C(0,0) b โฟกัส F (0,- ) A (0,-3) จุดยอด

(0,3) (- 4,0) ( 4,0) (-5,0) (5,0) a = 5 จุดยอด จุดยอด (0,-3) ตัวอย่างที่ 2 จงหาสมการของวงรีซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุด P( x ,y) ใดๆ บนวงรี ไป ยังจุด (- 4 , 0 ) และ ( 4 , 0 ) ซึ่งเป็นโฟกัสของวงรีเท่ากับ 10 หน่วย วิธีทำ นำสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ไปเขียนกราฟคร่าวๆดังนี้ Y จะได้วงรีมีแกนเอกบนแกน X ซึ่งมีสมการในรูป โฟกัสอยู่ที่จุด ( - 4 , 0) และ ( 4 , 0) จะได้ c = 4 (0,3) ผลบวกคงตัวมีค่า 10 หน่วย จะได้ 2a = 10 b (- 4,0) ( 4,0) (-5,0) (5,0) a = 5 หาค่า b จาก b2 = a2 - c2 X c a จุดยอด b2 = 25 – 16 จุดยอด (0,-3) b2 = 9 หรือ b = 3 นำ a = 5 , b = 3 ไปแทนค่าในสมการ จะได้ (รูปมาตรฐาน) หรือ 9x2 + 25y2 - 225 = 0 (รูปทั่วไป ) ดังนั้นสมการวงรีที่ต้องการคือ หรือ 9x2 + 25y2 - 225 = 0

2. วงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด (h, k) 1) แกนเอกขนานกับแกน X Y แกนโท Y (h,k+b) B P(x , y) โฟกัส จุดยอด โฟกัส b c A (h-a,k) A (h+a,k) F C(h,k) F (h+c,k) X (h-c,k) จุดยอด k a แกนเอก (h,k-b) B O X h

ให้ P( x ,y ) เป็นจุดใดๆ บนวงรี จะได้สมการ โดยที่ a > b และ b2 = a2 - c2 เป็นสมการวงรีที่มี 1. จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด ( h ,k ) 2. โฟกัสอยู่ที่ จุด F( h + c , k ) และ F( h - c , k ) 3. จุดยอดอยู่ที่จุด A( h + a , k ) และ A( h - a , k ) 4. แกนเอกขนานกับแกน X ***5. ผลบวกของระยะทางจากจุด P( x ,y ) ใดๆบนวงรีไปยังโฟกัสทั้งสอง มีค่าคงตัวเท่ากับ 2a หน่วย

2) แกนเอกขนานกับแกน Y k h จุดยอด A (h,k+a) Y แกนเอก โฟกัส F (h,k+c) a c แกนโท b (h-b,k) (h+b,k) B B X C(h,k) k F (h,k-c) P(x , y) โฟกัส จุดยอด A (h,k-a) X O h

ให้ P( x ,y ) เป็นจุดใดๆบนวงรี จะได้สมการ โดยที่ a > b และ b2 = a2 – c2 เป็นสมการวงรีที่มี 1. จุดศูนย์กลางที่ C( h , k ) 2. โฟกัสที่จุด F( h , k+c ) และ F( h , k-c ) 3. จุดยอดอยู่ที่จุด A( h , k+a ) และ A( h , k-a ) 4. แกนเอกขนานกับแกน Y ***5. ผลบวกของระยะทางจากจุด P( x ,y ) ใดๆบนวงรีไปยังโฟกัสทั้งสอง มีค่าคงตัวเท่ากับ 2a หน่วย

เขียนกราฟคร่าวๆได้ดังนี้ ตัวอย่างที่ 3 จงหาสมการของวงรี ซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุด P( x , y ) ใดๆ บนวงรีไปยังจุด (1 , 6 ) และ ( 1 , –2 ) เท่ากับ 12 หน่วย เขียนกราฟคร่าวๆได้ดังนี้ วิธีทำ จะได้วงรี มีแกนเอกขนานกับแกน Y มีสมการในรูป y A F(1,6) ผลบวกของระยะทางจากจุด P( x , y ) ใดๆบนวงรีไปยังโฟกัสทั้งสอง เท่ากับ 12 หน่วย C(1,2) O x จะได้ 2a = 12 หรือ a = 6 F( 1,–2) A

โฟกัสอยู่ที่จุด F(h , k+c ) = ( 1 , 6 ) จะได้ h = 1 , k+c = 6 ……(1) และ F(h , k-c )= ( 1 , - 2 ) จะได้ k- c = -2 ……(2) 2k = 4 k = 2 หาค่า b จาก b2 = a2 – c2 แทนค่า k = 2 ใน (1) จะได้ c = 4 = 36 – 16 = 20 ,b = แทนค่า h = 1 , k = 2 , a = 6 , b = ในสมการ จะได้ สมการคือ รูปมาตรฐาน

ทำ ให้อยู่ในรูปทั่วไป จะได้ เขียนในรูปทั่วไป

วิธีทำ จัดสมการ x2 + 2y2 + 4x – 4y + 2 = 0 ให้อยู่ในรูปมาตรฐาน ดังนี้ ตัวอย่างที่ 4 จงหาโคออร์ดิเนตของจุดศูนย์กลาง โฟกัส จุดยอด และ ความยาวของแกน ทั้งสองของวงรีที่มีสมการเป็น x2 + 2y2 + 4x – 4y + 2 = 0 พร้อมทั้งเขียนกราฟ วิธีทำ จัดสมการ x2 + 2y2 + 4x – 4y + 2 = 0 ให้อยู่ในรูปมาตรฐาน ดังนี้ (x2 + 4x ) + 2 (y2 – 2y ) = -2 (x2 + 4x + 4 ) + 2 (y2 – 2y + 1 ) = -2 + 4 + 2 (x + 2 )2 + 2( y – 1)2 = 4 นำ 4 หารทั้งสองข้าง เทียบสมการ จะได้ h = - 2 , k = 1 , a2 = 4 , b2 = 2 a = 2 , b = หาค่า c จาก b2 = a2 – c2 2 = 4 - c2 c2 = 2 , c =

จุดยอด จุดยอด จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด C(h, k) = ( - 2 , 1) ความยาวแกนเอก คือ 2a เท่ากับ 4 หน่วย โฟกัสอยู่ที่จุด F( h + c , k ) = (- 2 + , 1 ) และ F( h - c , k ) = (- 2 - , 1 ) ความยาวแกนโท คือ 2b เท่ากับ หน่วย จุดยอดอยู่ที่จุด A( h + a , k ) = (- 2 +2 , 1 ) = ( 0 , 1 ) และ A( h - a , k ) = (- 2 –2 , 1 ) = ( - 4 , 1 ) Y Y (-2,1+ ) หน่วย จุดยอด จุดยอด ( - 2- ,1) ( - 2+ , 1) X (-4,1) C(-2,1) (0,1) O X (-2,1- )

จบการนำเสนอ