ณ การนิคมอุตสาหกรรมลำพูน วันที่ 16 กรกฎาคม 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การตอบข้อหารือเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์/ผลิตภัณฑ์ที่อาจเป็นสารควบคุมตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบ.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
กลุ่มที่ 4.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การเขียนเชิงกิจธุระ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 62/2555 เรื่อง การรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหาร จัดการความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ การนิคมอุตสาหกรรมลำพูน วันที่ 16 กรกฎาคม 2555 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการความปลอดภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตรายภาคอุตสาหกรรม ณ การนิคมอุตสาหกรรมลำพูน วันที่ 16 กรกฎาคม 2555

การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ภาคประชาชนและสื่อมวลชน

จุดแข็ง (Strengths) มีการกระจายบทบาทและหน้าที่ในการกำกับดูแล ทำให้เกิด ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง

จุดอ่อน (Weaknesses) หน่วยงานควบคุมไม่เข้มแข็ง การจัดการและการสื่อสารยังไม่เพียงพอ ขาดการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง ทั่วถึงและทันต่อสถานการณ์ ทำให้ผู้ใช้ไม่ทราบข้อเท็จจริงของสารเคมี และข้อมูลที่ สื่อสารไปยังผู้บริโภค/ประชาชนไม่เพียงพอ ขาดการตรวจติดตาม การแบ่งโครงสร้างองค์กรเพื่อควบคุม ก่อให้เกิดช่องว่างทางกฎหมาย สารบางชนิด ขาดหน่วยงานดูแลและรับผิดชอบ การกำกับดูแลไม่ตอบสนองกับนโยบายที่กำหนดไว้ (นโยบายดีแต่ปฏิบัติไม่มี ประสิทธิภาพ) ขาดการกระจายอำนาจการควบคุมดูแลไม่ยังหน่วยงานท้องถิ่น ขาดงบประมาณในการควบคุมดูแล ติดตามและประเมินผล ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมีความเข้าใจยาก เป็นวิชาการหรือศัพท์เทคนิคมากเกินไป ขาดความพร้อมในการเข้าสู่ AEC กฎหมายล้าหลัง ไม่ทันสมัย และการควบคุมยังไม่ครอบคลุมสารเคมีอันตรายอื่นๆ และไม่ครอบคลุมกับผู้ใช้งานในทุกระดับ ขาดการบูรณาการในระดับท้องถิ่น ไม่เอื้อต่อการนำไปปฏิบัติ บทลงโทษไม่รุนแรง กฎหมายไม่เข้มแข็ง และการควบคุมไม่เข้มงวด

โอกาส (Opportunities) การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น การแก้ไขกฎหมายให้ทันสมัยมากยิ่งขึ้น การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

อุปสรรค (Threats) ปัญหาทางความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง เป็นอุปสรรคในการแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรม มีข้อจำกัดในการกระจายข้อมูลแก่สาธารณะใน ทุกระดับ ใช้สื่อที่ไม่เป็นที่นิยมของสาธารณะ ปัญหาการแทรกแซงทางการเมือง การใช้อิทธิพลของนักการเมือง ปัญหาคอรัปชั่นของประเทศ

ข้อเสนอแนะ ระยะเวลาที่มีผลบังคับใช้ ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม ควรกำหนดเวลาในการเตรียมความพร้อมในการดำเนินงาน ด้านความปลอดภัย กำหนดเป็นนโยบายในการสื่อสาร โดยเลือกใช้สื่อที่เป็นที่นิยมแพร่หลาย และสื่อสารอย่าง ต่อเนื่องให้เข้าถึงท้องถิ่นได้ กำหนดประเภทและระดับความเป็นอันตรายของสารเคมีให้ชัดเจน และสื่อสารให้ประชาชน เข้าใจ ขยายฐานการควบคุมสารเคมีให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมและพัฒนาให้องค์กรส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพและความรู้ในการบริหารจัดการได้ด้วย ตนเอง ด้านสิ่งแวดล้อม จัดทำแผนการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พร้อมสื่อสารให้ชุมชนรับทราบ ผลการดำเนินงานอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง ควรมีกองทุนหรือแหล่งเงินทุนสนับสนุนการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีหรือกระบวนการผลิต ด้านอื่นๆ นำเสนอข้อมูลและข่าวสารผ่านช่องทางที่มีประสิทธิภาพ เช่น ผ่านสื่อทีวี หรือฟรีทีวี เป็นต้น

การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ภาคเอกชน

จุดแข็ง (Strengths) เนื้อหาของกฎหมายมีการกำหนดหน้าที่ไว้ชัดเจน เช่น สถานประกอบการในนิคม กฎหมายการขนส่ง ข้อ ปฏิบัติเกี่ยวกับศุลกากร เป็นต้น

จุดอ่อน (Weaknesses) ไม่มีหน่วยงานในการกำกับดูแลสถานประกอบการนอกเขตนิคมอุตสาหกรรม และการกำหนดขอบเขต/หน้าที่ ของหน่วยงานทั้งในและนอกนิคมไม่ชัดเจนว่า การตรวจติดตามสถานประกอบการในและนอกนิคมเป็นหน้าที่ ของใคร มีหลายหน่วยงานในการกำกับดูแลสารเคมีมากเกินไป เกิดความซ้ำซ้อนและยุ่งยากในการยื่นเอกสารให้แต่ละ หน่วยงานตรวจสอบ และต้องทำรายงานแยกให้แต่ละหน่วยงาน การตีความข้อกฎหมายของแต่ละหน่วยงานขัดแย้งกัน ปัญหาด้านเอกสารไม่พอเพียง เช่น เอกสารการนำเข้าสารเคมีที่ไม่เป็น วอ. แต่ทางกรมศุลกากรไม่แน่ใจในเรื่อง ความครบถ้วนของเอกสาร ไม่มีความชัดเจนด้านความคุ้มครองแก่ผู้ได้รับผลกระทบหรืออันตรายจากสารเคมี ในแง่ของสิทธิและตัวเงิน ไม่มีการควบคุมสารเคมีที่อยู่นอกบัญชีรายชื่อ วอ. การดำเนินงานต่อ กรอ. ใช้เวลาในการพิจารณาค่อนข้างนาน ทำให้เกิดปัญหาในการนำเข้า/ส่งออก หรือดำเนิน กิจกรรมใดๆ ต่อสารเคมี สถานที่ติดต่อราชการอยู่ที่ส่วนกลาง (กทม.) เท่านั้น ไม่มีการตรวจติดตามสารเคมีหลังจากการขออนุญาตการใช้ ตรวจจับได้ยากเนื่องจากมีการนัดหมายการตรวจสอบโรงงานล่วงหน้าทำให้โรงงานมีการเตรียมตัวปกปิด ซ่อน เร้น ความน่าเชื่อถือ/ชัดเจน ของ SDS ที่ได้รับ การอ้างอิงประกาศบัญชีรายชื่อ วอ. ไม่ทราบแหล่งที่มา ในบางกรณีมีผลกระทบต่อกระบวนการผลิต และ คุณภาพผลิตภัณฑ์ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องควรยังขาดการประชาสัมพันธ์เนื้อหากฎหมาย

โอกาส (Opportunities) การจัดตั้งศูนย์การบริหารจัดการสารเคมีของประเทศ เป็นหน่วยงานเดียว เพื่อรับการติดต่อจากผู้ประกอบการ ทางเดียว

อุปสรรค (Threats) ประชาชนไม่ทราบเนื้อหากฎหมาย

ข้อเสนอแนะ (1) ระยะเวลาที่ควรมีผลบังคับใช้ ด้านความปลอดภัย ให้มีผลบังคับใช้เกิน 1 ปีขึ้นไป เพื่อเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ โดยมีการประชาสัมพันธ์ หรือการอบรมให้ทราบก่อน ระยะเวลาการบังคับใช้ให้พิจารณาจากความพร้อมของสถานประกอบการ เช่น ขั้นตอนการดำเนินงาน หรือการประกาศบัญชีรายชื่อสารนั้นๆ เป็น วอ. ชนิดที่ 4 แบบไหน และมีกลไก/ขั้นตอนการดำเนินงานอย่างไร มีการกำหนดระยะเวลาการควบคุมแบบค่อยเป็นค่อยใน เช่น กรณีกฎหมาย REACH จะค่อยๆ ลดปริมาณสารเคมีที่จะควบคุมลงไปเรื่อยๆ จาก 1,000 ตันจนถึง 1 ตัน หน่วยงานราชการควรเป็นตัวกระตุ้นให้สถานประกอบการเร่งดำเนินการตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดการเตรียมพร้อมแต่เนิ่นๆ ก่อนที่กฎหมายจะมีผลบังคับใช้จริง ด้านความปลอดภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการศึกษาสารเคมีที่ไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อ วอ. ด้วย ควรมีการตรวจติดตามการดำเนินงานกับสารเคมีหลังจากได้รับอนุญาตให้ประกอบการได้ สถานประกอบการที่ขออนุญาตแล้วควรขอ ISO 14000 ควรมีการระบุเป็นข้อมูลว่าสารเคมีแต่ละตัวจะต้องกำจัดอย่างไร ควรมีการระบุสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมีไว้ที่ภาชนะบรรจุ ควรมีวิธีการควบคุมสารเคมีในผู้ใช้รายย่อยที่ไม่ได้อยู่ในเขตประกอบการ เช่น โรงชุบ ว่ามีการใช้สารเคมีอย่างไร มีการรั่วไหลไปที่ใด ออกข้อกำหนดว่าการนำเข้าสารเคมีจะต้องมีการแนบ SDS ที่เป็นภาษาทางการ เช่น ไทย หรืออังกฤษ เนื่องจากที่ผ่านมามี SDS ที่เป็นภาษาอื่น เช่น ภาษาเยอรมัน การพิจารณาสารเคมีอันตราย ควรมีการพิจารณาแยกในสถานะของสาร เช่น ทองแดงในรูปของผงทองแดงในต่างประเทศมีการพิจารณาให้เป็นสารอันตรายเนื่องจากมีโอกาสรั่วไหลได้ง่ายกว่าทองแดงที่เป็น เส้น หรือเป็นชิ้น

ข้อเสนอแนะ (2) ด้านสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะอื่นๆ ควรมีการระบุเป็นข้อมูลว่าสารเคมีแต่ละตัวจะต้องกำจัดอย่างไร ควรมีวิธีการควบคุมสารเคมีในผู้ใช้รายย่อยที่ไม่ได้อยู่ในเขตประกอบการ เช่น โรงชุบ ว่ามีการใช้สารเคมีอย่างไร มีการรั่วไหลไปที่ใด ข้อเสนอแนะอื่นๆ การตอบข้อหารือโดยการออกเป็นหนังสือรับรอง หรือการตอบข้อหารือเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อการใช้อ้างอิง ย่นระยะเวลาในการดำเนินการติดต่อให้สั้นลง เสนอแนะให้มีการดำเนินการแบบออนไลน์ แทนการติดต่อกับ กรอ. โดยตรง ทำการสุ่มตรวจสถานประกอบการโดยไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้า การตรวจสอบสถานประกอบการควรเป็นการร่วมมือกันระหว่าง เจ้าหน้าที่ในท้องถิ่น ประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ควรมีการประชาสัมพันธ์และการฝึกอบรมให้แก่สถานประกอบการในการปฏิบัติตามกฎหมาย ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ประกอบการดำเนินการตามกฎหมาย เพื่อเตรียมพร้อมต่อมาตรการกฎหมายสากล ออกข้อกำหนดให้ SDS ที่ได้รับจากผู้ขาย มีความถูกต้องชัดเจนมากขึ้น

การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ภาครัฐบาล

จุดแข็ง (Strengths) แต่ละหน่วยงานมีพนักงาน/เจ้าหน้าที่ในการกำกับดูแล ที่มีความเชี่ยวชาญในควบคุมกับกับดูแลในขอบเขต ความรับผิดชอบของตัวเอง บทลงโทษเข้มงวด/รุนแรง ดีอยู่แล้ว

จุดอ่อน (Weaknesses) มีหลายหน่วยงานในการกำกับดูแลด้านสารอันตราย ทำให้การประสานงานข้อมูลไม่มี ประสิทธิภาพ และบางครั้งการติดตามตรวจสอบในพื้นที่ต่างๆ ไม่ทราบว่าอยู่ในการ กำกับดูแลของหน่วยงานใด ไม่มี พรบ.ควบคุมไปถึงการประกอบอาชีพที่มีการใช้วัตถุอันตราย เช่น การรับกำจัด ปลวก/แมลง พรบ. ไม่ครอบคลุมถึงการจำหน่ายสารเคมี ทำให้ไม่มีหน่วยตรวจสอบคนจำหน่าย เกิดช่องว่างในการควบคุม มีการประกาศเพิ่มเติมหลายฉบับ ใช้ในทางปฏิบัติยาก มีสารเคมีใหม่ๆ เกิดขึ้น ซึ่ง พรบ. 2535 ไม่ครอบคลุม สารสกัดจากสารธรรมชาติ (Green Chemical) มีการเจือปนสารเคมี ซึ่งไม่อยู่ใน ข้อกำหนดของกฎหมาย แต่อาจเป็นสารอันตราย ที่การร่างกฎหมายควรพิจารณา การบังคับใช้กฎหมายยุ่งยาก เพราะต้องมีหลักฐานแน่ชัด และกระบวนการในการได้ หลักฐานมีขั้นตอนที่ซับซ้อน บทลงโทษใช้บทลงโทษสูงสุด (ศุลกากร) แต่ศุลกากรมักไม่ตรวจจับตั้งแต่ตอน นำเข้า แต่มาตรวจจับภายหลังผู้ประกอบการนำสารเคมีมาผลิตแล้ว ผู้ประกอบการ รู้สึกว่าไม่เป็นธรรม

โอกาส (Opportunities) จัดตั้งหน่วยงานควบคุมกลาง และเชิญผู้เชี่ยวชาญของ แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาปฏิบัติหน้าที่ร่วมกัน การเข้าสู่ AEC เกิดการค้าขายเสรี ทำให้ ปท.ไทยต้อง มีการปรับปรุงการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายให้ เป็นสากล

อุปสรรค (Threats) ผู้ประกอบการไม่ตรงไปตรงมา แจ้งการใช้สารเคมีไม่ตรงกับ ความเป็นจริง เนื่องจากมีหลายหน่วยงานภายใต้ พรบ. ทำให้ผู้ขาย/ผู้ใช้ ไม่ ทราบสารเคมีต่างๆ อยู่ในขอบเขตการควบคุมของใคร พรบฯ กำหนดให้มีผู้เชี่ยวชาญในการกำกับดูแลการใช้/ผลิต แต่ ในประชาชนไม่ปฏิบัติตาม โดยใช้แรงงานต่างด้าวในการ ดำเนินการ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่โดยเฉพาะ SMEs ไม่มีความรู้ทาง กฎหมาย การผลิตจึงไม่มีผู้เชี่ยวชาญในการดำเนินการตามที่ กฎหมายกำหนด ประชาชนขาดความรู้ทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้/ผลิต/ ครอบครอง สารเคมี

ข้อเสนอแนะ ระยะเวลาที่ควรมีผลบังคับใช้ ให้เวลา 1 ปี ก่อนมีผลบังคับใช้ ด้านความปลอดภัย/สิ่งแวดล้อม เพิ่มการประชาสัมพันธ์แนวทางการปฏิบัติ/ป้องกันในการใช้สารเคมี ด้านอื่นๆ ควรมีการรวบรวมประกาศเพิ่มเติมให้เป็นกฎหมายฉบับเดียว ควรมีหน่วยงานกลางในการดำเนินการตรวจสอบพื้นที่แล้วรายงานให้ หน่วยงานกำกับดูแลที่เกี่ยวข้องทราบ หน่วยงานกลางควรขึ้นกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม