การบรรยายตอนสอง ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม การบรรยายตอนสอง 

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
รายงานการวิจัย.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ความหมายของเครือข่าย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
เศรษฐกิจพอเพียง.
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
Seminar in computer Science
2. ทัศนะอันหลากหลายของความหมาย social Analysis and synthesis
สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน
( Organization Behaviors )
แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน
The Nature of technology
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
Knowledge Management (KM)
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
บริษัทประกันภัย Hanover
เทคนิคการทำงานกับชาวบ้าน : ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรแก่การแสวงหา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Developing our strategy Ten questions that need to be answered.
กระบวนการวิจัย Process of Research
ความหมายของการวิจารณ์
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
THEORIES of POLITICAL ECONOMY And POLITICAL ECONOMY of DEVELOPMENT ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
ปรัชญาสังคมศาสตร์ และวิธีวิทยาการศึกษา
วิธีการคิดวิเคราะห์.
ปรัชญา และวิธีวิทยา ของเศรษฐศาสตร์การเมือง
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิเคราะห์ปัญหาและยุทธศาสตร์การพัฒนาAnalysis on Problems and Strategies of Development ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบรรยายตอนสอง ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม การบรรยายตอนสอง ------------------ --------------------- ทฤษฎีสังคม (Social Theory) : ความหลากหลายทางพาราไดม์ และวิธีวิทยา (Paradigms and Methodologies)

กล่าวนำ “ Even in our dreams we sighted no new land…where is the push it nothing pulls ? Something is always lacking. What ? Serviceable Foundations, a framework, formulations of goals. ”

วาทะของนักเขียนเยอรมัน ชื่อดัง G.GRASS กล่าวนำ ในบทกวีสั้น ๆ “จากบันทึกของหอยทากตัวหนึ่ง” ผู้เขียนต้องการจะบอกเราว่า ในยุค postmodern ทุกอย่างดำเนินไปอย่างรวดเร็ว แต่ยิ่งเร็วมาก ก็ยิ่งหายนะมาก เดินช้า ๆ อย่างสุขุมดีกว่า แต่อย่าช้าเหมือนหอยทาก ข้อสำคัญคือ ในการเดินทาง เราจะต้องมีรากฐาน มีกรอบแนวคิด มีการกำหนดจุดหมายปลายทางที่ชัดเจน

Paradigm thinking การสร้างความรู้ ประกอบด้วย 3 ปัจจัยใหญ่ ๆ ด้วยกัน - Evolution - Emergence - Consciousness 3 ปัจจัยนี้ เกี่ยวพันกันและกัน และวิวัฒนาการไปพร้อม ๆ กัน Interdependent Coevolution เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด

แบบจำลองการสร้างความรู้ EVOLUTION พัฒนาองค์ความรู้ ภูมิปัญญา EMERGENCE CONSCIOUSNESS สร้างรากฐานระบบคิด ทางปรัชญา ยกระดับจิตสำนึก เพื่อการปลดปล่อยสังคม นักปรัชญาคนสำคัญที่เน้นการสร้างระบบความรู้บนฐานของปรัชญา และจิตสำนึกที่ปลดปล่อย คือ JURGEN HABERMAS

HABERMAS Knowledge and Human Interests 3 categories of process of inquiry - เชื่อมโยง logical – methodological rules กับ knowledge – constitutive interests - critical philosophy of science มีภารกิจสำคัญ : หลุดพ้นจากการครอบงำของ positivism

Interest Structure โครงสร้างเกี่ยวกับความสนใจของมนุษย์ ในการที่จะดำรงชีวิต : - technical cognitive interest (1) - practical cognitive interest (2) - emancipatory cognitive interest (3)

Means of Social organization ความสนใจ ทั้ง 3 รูปแบบ เชื่อมโยงกับปัจจัยของการจัดองค์กร 3 แบบ : - technical WORK - practical LANGUAGE - emancipatory POWER

ความสนใจ กับ ศาสตร์ 3 แนว Empirical – analytic sciences Historical – hermeneutic sciences Critically oriented sciences

ศาสตร์ 3 แนว (ต่อ) แนวแรก ให้ข้อมูลข่าวสารแก่เรา ซึ่งจะทำให้เราสามารถอธิบาย (explanation) ปรากฏการณ์สังคมได้เพื่อขยายพลังอำนาจในการควบคุมทางเทคนิค ท่ามกลางกระบวนการ ทำงาน ในการดำรงชีพ แนวที่สอง ให้เรารู้จัก ภาษา การตีความ เพื่อที่จะทำความเข้าใจ (understanding) ความหมายของการกระทำของผู้คนในโลกสังคม แนวที่สาม ให้เรามีความสามารถ ในการมองสังคมเชิงวิพากษ์ (reflection) เพื่อนำเราไปสู่การปลดปล่อยจิตสำนึกให้หลุดพ้นจากการครอบงำของ อำนาจ

การกระทำของมนุษย์ แนวแรก : rational purposive action แนวที่สอง : symbolic communicative action แนวที่สาม : discourse ethics and ideal speech situation

Criteria of validity วิเคราะห์ : ต้องทดสอบเชิงประจักษ์ วิเคราะห์ : ต้องทดสอบเชิงประจักษ์ ตีความ : ตกลงกันระหว่างผู้คน ท่ามกลางเสวนา วิพากษ์ : ประสบความสำเร็จในการ ปลดปล่อย / เปลี่ยนแปลง

เป้าหมายของการวิจัย วิเคราะห์ : วัตถุ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ วิเคราะห์ : วัตถุ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ตีความ : บุคคล การกระทำ การแสดงออกทางคำพูด วิพากษ์ : รูปแบบของการกระทำ และภาษาที่ถูกบิดเบือน

knowledge constitutive interests ---------------------------------------------------------------- Interest Knowledge Medium Science ----------------------------------------------------------------- Technical explanation work empirical (knowing that) Practical understanding language interpretive (knowing how) * Emancipatory self refection power critical (knowing why)

ทฤษฎีความรู้ของ HABERMAS จุดมุ่งหมายของฮาร์เบอร์มาส : - ต้องการวิพากษ์ แนวคิดที่นิยมวิธีการวิทยาศาสตร์ (scientism) : ที่มาของความรู้มีอยู่แหล่งเดียว คือ วิทยาศาสตร์ - Positivism เป็นการวิเคราะห์เพียง 1 แนวเท่านั้น ท่ามกลางหลายแนว ๆ - ในวงวิชาการ เราต้องการแนวคิดที่เน้น self-reflection นั่นคือ วิพากษ์จุดยืน วิพากษ์ทฤษฎีของเราเอง และวิพากษ์สังคม

HABERMAS and POSTMODERNISM ทฤษฎีของ Habermas ถูกนักคิดจากสำนัก Postmodernism วิจารณ์อย่างหนัก : - LYOTARD : เป็นเพียงอภิมหานิยายอีกเรื่องหนึ่ง เท่านั้นเอง เป็นวาทกรรมแบบทันสมัยที่มีแต่อุดมคติ - FOUCAULT : ความรู้อาจจะไม่ใช่เพื่อการปลดปล่อย แต่อาจถูกใช้เพื่อการควบคุมอำนาจ Power/Knowledge

ประยุกต์ใช้ทฤษฎีความรู้ 3 แนว Habermas เสนอทฤษฎี Knowledge and Human Interests ในปี 1972 - ปัจจุบันมีผู้นำไปประยุกต์ใช้มากมายหลายวงการของสังคมศาสตร์ : ทฤษฎีทางด้านจิตวิทยา การจัดการทางการศึกษา ทฤษฎีการจัดการทางธุรกิจ ทฤษฎีสังคม ทฤษฎี IT - สำคัญมากในการวางรากฐานทางปรัชญาให้แก่การพัฒนาทฤษฎีสังคม และการวิจัยสังคม

ปรัชญาสังคมศาสตร์ และทฤษฎีสังคม ปรัชญาสังคมศาสตร์ 3 แนว - positivist and empirical - hermeneutic and humanistic - radical and critical (ดู sheet)

ปรัชญา (ต่อ) รูปแบบทฤษฎีที่สำคัญ ๆ ภายใต้ ปรัชญาสังคมศาสตร์ที่แตกต่างกัน ปรัชญา แนวคิดหลัก และวิธีวิทยา ทฤษฎี