ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
สำนักวิชาการและแผนงาน
สำนักวิชาการและ แผนงาน. 2 ภาค / จังหวัด ไม่เข้าสู่กระบวนการ ใช้ประโยชน์ผิด วัตถุประสงค์ แผน ผลงาน แจ้ง เตือน ร้อยละแผน ผลงาน แจ้ง เตือน ร้อยละ รวมทั้งสิ้น.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แนวทางการประชุมกลุ่ม
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ไข้เลือดออก.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ไม่มีช่องทางเข้าออกประเทศเป้าหมาย
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ ห้องที่ 3 รองอธิบดี (แพทย์หญิงวราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์) ประธานกลุ่ม นางอนงค์ศิลป์ ด่านไพบูลย์ สคร.10 เลขานุการกลุ่ม

โครงการสำคัญ ของรองอธิบดี 3 การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 10 ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ 10.1 การพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ ชายแดนระหว่างประเทศ 10.2 การพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกำหนดกฎ อนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 15 พัฒนางานวิจัยและวิชาการ

“การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล” โครงการสำคัญที่ 3 “การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล” สถาบันบำราศนราดูร

สถานการณ์ด้านโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล : ผลกระทบจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล : อัตราตาย จำนวนวันนอนรพ. ค่ายาต้านจุลชีพ  ผลการสำรวจอัตราชุกการติดเชื้อในรพ. ปี ๒๕๕๗ ๓. GAP ของบุคลากร : ยังไม่ได้รับการอบรม ๒ สัปดาห์ ๒๒ รพ., และหลักสูตร IC ๔ เดือน ๑๙๒ รพ. ๔. มาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูลด้านโรคติดเชื้อของแต่ละรพ.ยังไม่เป็นแนวทางเดียวกัน ๕. การเข้าสู่ ASEAN ในปี ๒๕๕๘ กับปัญหาโรคติดเชื้อในจังหวัดชายแดน

1. ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพ อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลลดลงร้อยละ 10 (จากปีที่ผ่านมา) ตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ ( Process Indicator) มอบหมายให้สถาบันบำราศนาดูรไปจัดทำ (ค่าเป้าหมายเดิม : อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ไม่เกินร้อยละ 7.6) 2. พื้นที่เป้าหมายของสคร. พื้นที่ที่มีอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล สูงกว่าเป้าหมายในปี 2557 ได้แก่ เขตบริการสุขภาพที่ 4 จังหวัดนนทบุรี และสระบุรี เขตบริการสุขภาพที่ 8 จังหวัดอุดรธานี รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป รพ.ชุมชน ใน 12 เขตบริการสุขภาพ จำนวน 200 แห่(สถาบันบำราศนราดูรจัดทำรายละเอียดแยกราย สคร.)

3. เครือข่ายหลักในการดำเนินงาน : 1. เขตบริการสุขภาพ 12 เขต 2.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) 3.รพ. แม่ข่ายในแต่ละเขต 4.รพ.ศูนย์ ,รพ.ทั่วไป, รพ.ชุมชน

4. มาตรการดำเนินงาน : 1. พัฒนาระบบข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาลสำหรับ กระทรวงสาธารณสุข 2.พัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมทั้งกำหนดอัตรากำลังที่จำเป็น ด้าน IC ร่วมกับคณะกรรมการ NICC 3. พัฒนาแนวปฏิบัติ สำหรับใช้เป็นแนวทางการดำเนินงาน ด้านการป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

5. แนวทางการติดตามประเมินผล : 1. สคร.รายงานเป็นไตรมาส ตามแบบฟอร์มที่กองแผนงาน กำหนด 2. ติดตามและสื่อสารการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ผ่าน ระบบ VDO Conference ทุกไตรมาส

ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม: 1. ให้สถาบันบำราศนราดูรกำหนดมาตรการและแนวทาง สำคัญที่สคร. จะต้องไปดำเนินการ 2.ประเด็นท้าทายของสคร. ต้องชี้ GAP ให้โรงพยาบาล พัฒนาและปรับปรุง 3. พัฒนา ICN ของสคร. เพื่อเป็น Surveyor & Auditor ในกระบวนการรับรองคุณภาพ HA ของโรงพยาบาล

ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ โครงการสำคัญที่ 10 ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ 10.1การพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคและ ภัยสุขภาพในพื้นที่ชายแดนระหว่างประเทศ สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ 10.2 การพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกำหนดกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 สำนักโรคติดต่อทั่วไป

10.1การพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคและ ภัยสุขภาพในพื้นที่ชายแดนระหว่างประเทศ สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ

1. ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพและ 2. พื้นที่เป้าหมาย สคร. ที่รับผิด ชอบ ร้อยละ 70 ของจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด สคร. ที่รับผิด ชอบ จังหวัด (สคร.1,2,8 ไม่มีพื้นที่ชายแดน) จำนวนจังหวัดเป้าหมาย จำนวนจังหวัด ที่ต้องผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 70) 3 สระแก้ว จันทบุรี ตราด 2 4 ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 5 บุรีรัมย์ สุรินทร์ 1 6 หนองคาย เลย บึงกาฬ 7 นครพนม ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี มุกดาหาร 9 พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ตาก 10 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน น่าน เชียงราย พะเยา 11 ชุมพร ระนอง 12 สงขลา นราธิวาส ยะลา สตูล   รวมทั้งหมด 31 จังหวัด

3. เครือข่ายหลักในการดำเนินงาน : 1. สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป และ สำนักวิชาการ/ สถาบัน กรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ) 2. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 - 7 และ 9 – 12 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 31 จังหวัด ที่เป็นเป้าหมาย

4. มาตรการดำเนินงาน : 1.พัฒนาแนวทาง มาตรฐานงานและติดตามประเมินผล 2. ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพในพื้นที่ชายแดนใน 12 เป้าหมาย ให้จังหวัดชายแดนที่เป็น เป้าหมายผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด 3. ติดตาม กำกับและประเมินผล การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา ระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ชายแดน และระหว่างประเทศ

5. แนวทางการติดตามประเมินผล : สคร. รายงานเป็นไตรมาส ตามแบบฟอร์มที่กองแผนงานกำหนด (SAR ในระบบ ESM) ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

10.2 การพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกำหนดกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 สำนักโรคติดต่อทั่วไป

1. ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพและ 2. พื้นที่เป้าหมาย ร้อยละ 70 ของด่านที่สังกัดกรมควบคุมโรค ( 58 แห่ง) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน IHR2005 เขตสุขภาพ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ พรมแดน รวม กรุงเทพ (สรต.) 1 - 2 เขตสุขภาพที่ 1 (สคร.10,สสจ.เชียงราย) 1 (1) 3 (1) 6 (2) เขตสุขภาพที่ 2 (สคร.9) 5 (1) เขตสุขภาพที่ 3 ไม่มีช่องทางเข้าออกประเทศเป้าหมาย เขตสุขภาพที่ 4 เขตสุขภาพที่ 5 (สคร.4) 3 5 เขตสุขภาพที่ 6 (สรต.,สคร.3) 4 11 เขตสุขภาพที่ 7 เขตสุขภาพที่ 8 (สคร.6,สคร.7) 7 8 เขตสุขภาพที่ 9 (สคร.5) เขตสุขภาพที่ 10 (สคร.7) เขตสุขภาพที่ 11 (สคร.11, สสจ.สุราษฎร์ธานี) 4 (1) 6 (1) 10 (2) เขตสุขภาพที่ 12 (สคร.12, สสจ.สตูล ตรัง นราธิวาส ปัตตานี) 4 (2) 8(2) 14 (4) รวมทั้งสิ้น 17 (2) 18 (4) 32 (3) 67 (9) เป้าหมายในการดำเนินงาน พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามข้อกำหนดกฎอนามัยประเทศ พ.ศ. 2548 จำนวน 67 ช่องทาง (กรมควบคุมโรค 58 ช่องทาง , สป. 9 ช่องทาง)

3. เครือข่ายหลักในการดำเนินงาน : - ภายในกระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคติดต่อทั่วไป, สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3-7,9- 12 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย, สุราษฎร์ธานี, สตูล, ตรัง, ปัตตานี, นราธิวาส - ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่หน่วยงานที่อยู่ในสังกัด กระทรวงคมนาคม กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม

4. มาตรการดำเนินงาน : มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักตามกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 มาตรการที่ 2 พัฒนา คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงานมาตรฐานการ ปฏิบัติงาน ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างประเทศ มาตรการที่ 3 ติดตามกำกับ และประเมินผลการพัฒนาช่อง ทางเข้าออกประเทศ มาตรการที่ 4 การสนับสนุนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

5. แนวทางการติดตามประเมินผล : 1. ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออก ประเทศด้วยตนเอง (Self assessment) และส่งผลการประเมินให้ หน่วยงานต้นสังกัด 2. สคร.รายงานเป็นไตรมาส ตามแบบฟอร์มที่กองแผนงานกำหนด (SAR ในระบบ ESM) ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

6. ข้อเสนอแนะ - การประเมินด่านของ สป. เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา ไม่ได้นำมา เป็นตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์ในปี 2558 - ให้มีการประเมินเปรียบเทียบระหว่างด่านสังกัดกรมฯ และด่าน สังกัด สป. - ให้นำผลการวิเคราะห์การประเมินตนเอง (Self Assessment) ของด่านแต่ละแห่งมาเป็นข้อมูลในการประชุม วันที่ 28-29 พ.ย. 57 เพื่อพัฒนาในส่วนที่ขาดต่อไป

6. ข้อเสนอแนะ - การประเมินด่านของ สป. เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา ไม่ได้นำมาเป็นตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์ในปี 2558 - ให้มีการประเมินเปรียบเทียบระหว่างด่านสังกัดกรมฯ และด่านสังกัด สป. - ให้นำผลการวิเคราะห์การประเมินตนเอง (Self Assessment) ของด่านแต่ละแห่งมาเป็นข้อมูลในการประชุม วันที่ 28-29 พ.ย. 57 เพื่อพัฒนาในส่วนที่ขาดต่อไป

โครงการสำคัญที่ 15 พัฒนางานวิจัยและวิชาการ โครงการสำคัญที่ 15 พัฒนางานวิจัยและวิชาการ

1. ค่าเป้าหมาย / 2. พื้นที่เป้าหมาย / 3. เครือข่าย ตัวชี้วัด: จำนวนองค์ความรู้ ผลงานวิชาการและงานวิจัยที่ได้มาตรฐานและ ตอบสนองความต้องการของประชาชนและการพัฒนาระบบสาธารณสุข ตัวชี้วัด: ร้อยละ 80 ของผลการวิจัยด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค (ปี 55 – 57) มีการนำเสนอและเผยแพร่ เป้าหมาย หน่วยงานเป้าหมาย หมายเหตุ การดำเนินงานวิจัยให้มาตรฐาน ของหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการพัฒนางานวิจัยและวิขาการ กรมฯ (งบรายจ่ายอื่น) สำนัก/สถาบัน/สคร.ที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินงานวิจัย เป้าหมาย 39 เรื่อง จาก 67เรื่อง (เอกสารที่แจก) 2. ประเมินเทคโนโลยีการควบคุมโรคที่สำคัญ หน่วยงานที่สนใจ สคร. 1,10 ส.วัณโรค ส.โรคแมลง ส.โรคติดต่อทั่วไป 2 เรื่อง พัฒนาคน 24 คน 3. หัวข้อความรู้จากผู้เชี่ยวชาญของหน่วยงาน สคร. 12 เขต แห่งละ 3 เรื่อง (เป้าหมาย 34 เรื่อง) 4. ผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานที่ได้มาตรฐานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ทุกหน่วยงาน ผลิตภัณฑ์พร้อมใช้ 9 เรื่อง

4. มาตรการดำเนินงาน : การบริหารจัดการงานวิจัย การจัดการความรู้ ผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานที่ได้มาตรฐานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การประเมินเทคโนโลยีการควบคุมโรค

5. แนวทางการติดตามประเมินผล : 1. การนิเทศ/ตรวจเยี่ยมโครงการวิจัย 2. ติดตามการรายงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 3. รายงานผลการดำเนินงานในระบบ estimates รายไตรมาส

6. ข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่ไม่มีผลงานวิชาการ ให้พิจารณานำการจัดทำมาตรฐาน แนวทาง คู่มือ จากผลการดำเนินงานของหน่วยงานเอง มาตอบตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ที่ 2

ขอบคุณค่ะ