การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ปีงบประมาณ 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ปีงบประมาณ 2556 นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ 19 กรกฎาคม 2555

ข้อค้นพบจากการตรวจราชการและนิเทศงาน ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานรับผิดชอบการดำเนินงาน ทั้งในระดับจังหวัดและระดับอำเภอ จัดระบบสนับสนุนอย่างเป็นระบบ มีการสื่อสาร/ถ่ายทอดนโยบาย ทั่วถึงทั้งระดับบริหารและปฏิบัติการ มีกลไกการกำกับติดตาม รายงานผล และประเมินผลในพื้นที่

ข้อค้นพบจากการตรวจราชการและนิเทศงาน ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญ การถ่ายทอดนโยบายสู่ภูมิภาคและชี้แจงแผนการตรวจฯ ล่าช้า การบริหารจัดการงบประมาณไม่เพียงพอที่จะครอบคลุมการ ดำเนินงาน การดำเนินงานในชุมชนขาดความชัดเจนในการบูรณาการพื้นที่ ยังมีส่วนร่วมของภาคประชาชนน้อย ในเขตเมือง

ข้อเสนอแนะสำหรับจังหวัด ทำความเข้าใจแก่ผู้เกี่ยวข้อง มีต้นแบบ Mr. NCD ที่จังหวัด Strengthening NCD board and leadership การเชื่อมโยงระบบข้อมูล สร้างเครือข่ายระดับเขตและจังหวัด

Major Challenges in Prevention and Control of NCDs Lack of strong national partnerships for multisectoral actions Weak surveillance systems Limited access to prevention, care, and treatment services for NCDs Limited human resources for NCDs Insufficient allocation of funds Difficulties in engaging the industry and private sector Lack of social mobilization

Specific strategies and Interventions for NCD Prevention and Control Surveillance and research Health promotion and primary prevention to reduce risk factors for NCDs using multisectoral approach Health system strengthening for early detection and management of NCDs

การบริการคัดกรองโรคเสี่ยง การประเมินความเสี่ยงของ ให้การศึกษาประชาชน Screening รับรู้ข่าวสารสถานการณ์ความสำคัญ สร้างความตระหนักต่อผลกระทบ รู้สาเหตุและแนวปฏิบัติป้องกัน รู้จักกลุ่มเสี่ยงสูงและความจำเป็น ในการคัดกรอง การบริการคัดกรองโรคเสี่ยง คัดกรอง / การแปลความหมาย ข้อแนะนำปฏิบัติ การประเมินความเสี่ยงของ โรคหัวใจแลหลอดเลือด คัดกรอง / การแปลความหมาย ข้อแนะนำปฏิบัติ การบริการลดเสี่ยง สนับสนุนและติดตาม 7

CBI (ชุมชนสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) รับรู้ สนใจ เรียนรู้ ประเมิน จัดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อมูล สถานการณ์ สื่อสารต้องใจ ค้นพบลดเสี่ยง บูรณาการป้องกัน มีมาตรการสังคม มีการควบคุม สภาพแวดล้อม มีโครงการของ ชุมชนเอง CBI (ชุมชนสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ชุมชน ครอบครัว บุคคล จัดการตนเอง เข้าถึงบริการและทรัพยากรที่จำเป็น ใช้ Mind Map มากกว่า SWOT เพราะ SWOT ใช้ในการดำเนินการพัฒนาองค์กรมากกว่าใช้ในการแก้ไขและพัฒนา ส่วน Mind Map ใช้ในการหาสาเหตุและเพื่อการนำสู่การระบุและจัดการที่ปัจจัยตั้งต้น การสื่อสารเตือนภัยและเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล ระบบบริการสนับสนุน มีนโยบาย โครงสร้างและทรัพยากรที่เพียงพอและมีคุณภาพ เพิ่มพลังชุมชน 8

GOAL: Effectively link data collection to data use Surveillance and Monitoring for NCD Organizational model for state-based chronic disease surveillance program Data Program Interpretation Evaluation Data Information Program Analysis Dissemination Implementation Data Program Collection Planning GOAL: Effectively link data collection to data use Source: Ross C. Brown et al. Chronic Disease Epidemiology and Control, 2005

นโยบายอธิบดีกรมควบคุมโรค การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 ระบบโรค การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

จุดเน้นการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปี 2556 1. ลดการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) และ โรคความดันโลหิตสูง 2. เพิ่มความเข้มแข็งกระบวนการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ

สถานการณ์ อัตราตายต่อแสนประชากร

อัตราผู้ป่วยในต่อแสนประชากร

ผลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (BRFSS) 2548 2550 2553 ออกกำลังกาย (30 นาที, 3 ครั้ง/สัปดาห์) 30.9 37.5 47.7 รับประทานผักและผลไม้ (> 5 ถ้วยมาตรฐาน) 17.3 22.5 21.7 ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 37.4 36.1 29.5 สูบบุหรี่ 21.5 18.7

เป้าหมายหลักในการดำเนินงานเมื่อสิ้นปี พ.ศ.2559 อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองลดลง ร้อยละ 10 ภายในปี 2559 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 1.2 ร้อยละ 3.0 ร้อยละ 6.0 ร้อยละ 10

จุดเน้น มาตรการ 1.ลดการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) และ โรคความดันโลหิตสูง 1 พัฒนาเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง 2 สื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย โดยเน้นสัญญาณอันตรายและการลดปัจจัยเสี่ยง 3 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยง ลดโรค 4 เพิ่มคุณภาพการบริการในสถานบริการสุขภาพ และเครือข่ายสถานบริการระดับต่างๆ 5 การพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโดยเน้น FAST TRACK , Stroke unit 6 การพัฒนาศักยภาพชุมชน 7 พัฒนาและสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายทุกระดับ 8 กำกับ ติดตามประเมินผล

จุดเน้น มาตรการ 2. เพิ่มความเข้มแข็งกระบวนการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 1 ร่วมมือกับสำนักระบาดวิทยาในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ 2 พัฒนาความร่วมมือระหว่างเครือข่ายในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อทางสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ 2.1 ร่วมมือกับ CDC สหรัฐอเมริกา 2.2 จัดทำแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย

กิจกรรมดำเนินการ พัฒนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด เลือด พัฒนากระบวนการสื่อสารป้องกันการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง ด้วยการลดการบริโภคเกลือ นำร่องการให้บริการปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพในสถานบริการสาธารณสุข ขยายผลการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของ รพ.สต. ส่งเสริมผลักดันให้จังหวัดนำเกณฑ์การประเมินตนเอง (Self assessment) ไปใช้เพื่อประเมินศักยภาพ ตนเองในการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ขับเคลื่อนสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กาย ใจเป็นสุข

นโยบายการขับเคลื่อนลดโรค เพิ่มสุขสาธารณสุขร่วมใจเทิดไท้องค์ราชัน โครงการ วัยทำงาน ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข

สถานการณ์วัยทำงาน ประเทศไทยมีผู้มีงานทำ 39.30 ล้านคน แรงงานในระบบ 14.7 ล้านคน  คิดเป็น 37.4% เป็นแรงงานนอกระบบ 24.6 ล้านคน คิดเป็น  62.6% ประชากรในภาคเกษตรกรรม 13.51 ล้านคน (ส่วนมากเป็นแรงงานนอกระบบ) มีแรงงานที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานประกันสังคม รวมทั้งสิ้น 8.68 ล้านคน จากจำนวนสถานประกอบการทั่วราชอาณาจักรทั้งสิ้นประมาณ 389,953 แห่ง โรคเรื้อรังที่พบสูงสุด ๓ ลำดับ คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2554

ปัญหาสุขภาพในวัยเจริญพันธุ์ ปัญหาสุขภาพวัยทำงาน ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากงาน ปัญหาสุขภาพที่เกิดตามอายุและวิถีชีวิต ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ปัญหาสุขภาพในวัยเจริญพันธุ์

กรอบแนวคิด (ยึด Healthy Workplace WHO 2008) ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข Physical work environment Personal health resources Enterprise community involvement Psychosocial work environment Text Text www.themegallery.com

ดร.นายแพทย์สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ หลักการสำคัญ การผสมผสานการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม การมีส่วนร่วมและสร้างความเข้มแข็งของพนักงาน พนักงานทุกคนมีความเท่าเทียมในการเข้าถึงของโครงการฯ มีการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีความยั่งยืนของการดำเนินงาน ดร.นายแพทย์สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์

แผนการดำเนินงานในโรงงาน ดำเนินการในสถานประกอบการทุกจังหวัด อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง นำร่องที่ จ.อยุธยา Toyota Honda Cannon

แผนการดำเนินงานในโรงงาน (ต่อ) งานที่ดำเนินการแล้ว แผนการดำเนินงานต่อไป บูรณาการหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จัดทำเกณฑ์การพัฒนาสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข แต่งตั้งคณะทำงาน กรมต่างๆในกระทรวงสธ. สคร และสสจ. ร่วมดำเนินการ พัฒนาเกณฑ์การประเมิน จัดทำแนวทางการดำเนินงาน ของสถานประกอบการ จัดทำคู่มือการประเมิน ติดตามประเมินผล

แผนการดำเนินงานในโรงงาน (ระยะยาว) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบโล่ ขยายผลโครงการฯ ให้ครอบคลุม

จุดเน้นการดำเนินงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปี 2556 ควบคุมปริมาณการบริโภคของสังคม ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่และควบคุม ความชุกของผู้บริโภค ลดความเสี่ยงของการบริโภค จำกัดและลดความรุนแรงของปัญหา

มาตรการ ภาษีและราคา ควบคุมการเข้าถึง การควบคุมโฆษณา การดัดแปลงบริบทและเงื่อนไขการดื่ม การคัดกรองและบำบัดรักษา มาตรการระดับชุมชน การรณรงค์สาธารณะ ระบบบริการสุขภาพ

สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประเทศไทยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเป็นอันดับ 3 ของทวีปเอเชีย (13.59 ลิตร/คน/ปี) ทั้งสองเพศ ความชุกของการบริโภค ปี 2552 = ร้อยละ 32.0 ปี 2554 = ร้อยละ 31.5 เพศชาย ความชุกของการบริโภค ปี 2552 = ร้อยละ 54.5 ปี 2554 = ร้อยละ 53.4 เพศหญิง ความชุกของการบริโภค ปี 2552 = ร้อยละ 10.8 ปี 2554 = ร้อยละ 10.9

เป้าหมายการดำเนินงาน (เมื่อสิ้นปี 2558) 1.ปริมาณการบริโภคต่อประชากรผู้ใหญ่ ไม่เกิน 7.71 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี 2.ความชุกของนักดื่มหน้าใหม่อายุ 15 – 19 ปี ไม่เกินร้อยละ 12.7 3. ความชุกของผู้บริโภคในประชากรผู้ใหญ่ ไม่เกินร้อยละ 28.5 4. สัดส่วนของผู้บริโภคประจำต่อผู้บริโภคทั้งหมดไม่เกินร้อยละ 40.67 ที่มา : แผนนโยบายยุทธศาสตร์แอลกอฮอล์ระดับชาติ

จุดเน้นการดำเนินงานควบคุมการบริโภคยาสูบปี 2556 สร้างความร่วมมือการทำงานเชิงรุกในการเฝ้าระวัง ควบคุมยาสูบแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน พัฒนาการสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์เพื่อ ควบคุมยาสูบแบบมีส่วนร่วม พัฒนาระบบบริการเลิกบุหรี่เพื่อลดปริมาณการบริโภคยาสูบ การปิดช่องว่างของกฎหมาย/กำหนดมาตรการเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ. 2555 - 2557

สถานการณ์การบริโภคยาสูบของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป GATT Survey ปี 2552 ปี 2554 ชาย 46.4 47.2 หญิง 9.1 7.6 ทั้งสองเพศ 27.2 26.9

เป้าหมายการดำเนินงาน (เมื่อสิ้นปี 2557) 1. อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลง อัตราโดยรวมและของประชากรชาย ลดลงร้อยละ 10 จากปี พ.ศ. 2552 อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรหญิง ไม่เพิ่มขึ้น จากฐานข้อมูลการสำรวจปี พ.ศ. 2552 2. อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองของประชาชน ลดลงร้อยละ50 จากปี พ.ศ. 2552 โดยเน้นสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ ได้แก่ 1) ตลาด 2) สถานบันเทิง 3) มหาวิทยาลัย 4) ที่ทำงาน 5) ขนส่ง สาธารณะ และ 6) ร้านอาหาร/ภัตตาคาร

สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ขอบคุณครับ