ภาค 2 การป้องกันอุบัติเหตุ การจัดองค์กรด้านความปลอดภัย การค้นหาสาเหตุ** การวิเคราะห์อุบัติเหตุ** การหามาตรการป้องกัน ** การนำไปประยุกต์ใช้ มาตรการ 5 ขั้นตอนเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุอย่างมีประสิทธิผล
ปัญหาความปลอดภัย คือ ปัญหาของผู้บริหาร ผู้บริหาร ต้องมี นโยบายที่ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร คณะกรรมการดำเนินงานเพื่อความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยประจำโรงงาน ให้นโยบายเกี่ยวกับสุขภาพ/ความปลอดภัย มีอำนาจ กำกับ/ดูแล/สั่งการ/ลงโทษ •ผู้บริหารต้องพึงระลึกเสมอว่า เราไม่ต้องการแผนงานด้านการผลิตและแผนงานด้านความปลอดภัย แต่ เราต้องการ การผลิตที่มีความปลอดภัย (Safe Production) เท่านั้น
ตัวอย่างนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย พนักงานทุกคน คือ หัวใจของโครงการ และเป็นทรัพยากรอันมีค่ายิ่ง บริษัทฯ จะทำทุกวิถีทาง เพื่อให้มีความปลอดภัย ในการทำงานรวมทั้งสุขภาพอนามัยของพนักงานทุกคน บริษัท......... จะเป็นผู้นำการก่อสร้างที่ปลอดภัย เป้าหมาย ของเราคือ การไม่มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน ดังนั้น บริษัท จึงกำหนดนโยบายเพื่อให้ทุกฝ่ายดำเนินการ ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยควบคู่ไปกับโครงการอย่างต่อเนื่องและตลอดไป ดังต่อไปนี้ 1. บริษัทถือว่า ความปลอดภัยในการทำงานเป็นหน้าที่ของพนักงานทุกคน ทุกระดับที่จะร่วมมือกันปฏิบัติ เพื่อให้ เกิดความปลอดภัยทั้งของตนเองและผู้อื่น 2. บริษัทจะสนับสนุนส่งเสริม ให้มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ตลอดจนการใช้ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม รวมถึงการรักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่ดีของพนักงานทุกคน 3. ผู้บังคับบัญชาทุกคน ต้องมีหน้าที่ดูแลและรับผิดอบ ในเรื่องความปลอดภัยในการทำงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ให้เป็นไปตามกฎระเบียบแห่งความปลอดภัยที่กำหนดขึ้นโดยเคร่งครัด 4. บริษัทจะจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพื่อควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติอย่างจริงจังและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ลงชื่อ..................... กรรมการผู้จัดการ
▪ การตรวจความปลอดภัยและการสอบสวนอุบัติเหตุ ▪ การค้นหาสาเหตุ ▪ การตรวจความปลอดภัยและการสอบสวนอุบัติเหตุ ▪ การตรวจอย่างเป็นระบบนับได้ว่าเป็นเครื่องมือพื้นฐาน ในการรักษาสภาพความปลอดภัยและตรวจสอบการ ปฏิบัติที่ไม่ปลอดภัย การรายงานและสอบสวนอุบัติเหตุ ช่วยให้ทราบสาเหตุ ของอุบัติเหตุซึ่งจะนำไปสู่การหามาตรการในการแก้ไข และป้องกัน
การวิเคราะห์อุบัติเหตุ ▪ การวิเคราะห์ หมายถึง การจำแนก แยกแยะ ▪ การวิเคราะห์อุบัติเหตุ หมายถึง การแยกแยะให้เห็นถึงประเภท ของอุบัติเหตุที่เกิดเพื่อนำไปสู่การหามาตรการ แก้ไขต่อไป การแยกแยะประเภทอุบัติเหตุตามมาตรฐาน ILO การประชุมนานาชาติของนักสถิติแรงงาน จัดโดยองค์กรกรรมกรโลก เมื่อปี พ.ศ. 2505 ได้จำแนกประเภทของอุบัติเหตุไว้ดังนี้ (International Labor Organization) = องค์กรแรงงานสากลระหว่างประเทศ
การถูกเฉี่ยวชน หรือ กระแทกโดยวัสดุทุกชนิดยกเว้นจากการหล่น ประเภทของอุบัติเหตุจำแนก ตามชนิดของอุบัติเหตุ การพลัดตกของคนงาน การถูกวัสดุหล่นทับ การถูกเฉี่ยวชน หรือ กระแทกโดยวัสดุทุกชนิดยกเว้นจากการหล่น การถูกหนีบหรือจับเข้าไว้ระหว่างวัตถุ 2 ชิ้น การออกแรงเกินกำลัง การสัมผัสกับอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกินไป การสัมผัสกับกระแสไฟฟ้า การสัมผัสกับสารพิษหรือการรับการแผ่รังสีต่าง ๆ อุบัติเหตุชนิดอื่น ๆ ที่มิได้เข้าชนิดตามข้อ 1-8
อุบัติเหตุจำแนกตามตัวการเกิดอุบัติเหตุ 1. เครื่องจักรกล 1.1 เครื่องต้นกำลังต่างๆ ยกเว้นมอเตอร์ไฟฟ้า เช่น หม้อไอน้ำ 1.2 อุปกรณ์ส่งถ่ายกำลังกล ** 1.3 เครื่องขึ้นรูปโลหะ 1.4 เครื่องจักรกลงานไม้ 1.5 เครื่องจักรกลการเกษตร 1.5 เครื่องจักรกลเหมืองแร่ 1.6 เครื่องจักรกลอื่นๆ ที่มิได้ระบุเอาไว้ในข้างต้น 2. วัสดุอุปกรณ์ในการขนถ่ายและยกวัสดุ 2.1 รถยกและเครื่องยกต่างๆ 2.2 รถหรือล้อที่มีรางเลื่อน 2.3 ล้อเลื่อนอื่น ๆที่ไม่แล่นบนรางเลื่อน 2.4 พาหนะขนส่งทางอากาศ 2.5 พาหนะขนส่งทางน้ำ 2.6 พาหนะขนส่งอื่น ๆ
3. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์อื่นๆ 3.1 ภาชนะบรรจุความดันสูง 3.2 เตาหลอม เตาเผา เตาอบ ฯลฯ 3.3 ระบบเครื่องทำความเย็น 3.4 ระบบไฟฟ้าต่าง ๆ ที่ติดตั้งถาวรยกเว้นเครื่องมือไฟฟ้า 3.5 เครื่องมือไฟฟ้าต่าง ๆ 3.6 เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ไม่ใช้ไฟฟ้า 3.7 บันไดและล้อเลื่อนทำหน้าที่บันไดแบบต่างๆ 3.8 โครงสร้างและนั่งร้าน 3.9 เครื่องจักรกลอื่น ๆ
5. สภาพแวดล้อมในการทำงาน 4. วัสดุ สารและรังสี 4.1 วัตถุระเบิด 4.2 ฝุ่นผง แก๊ส ของเหลว สารเคมีต่างๆ ยกเว้น วัตถุระเบิด 4.3 วัตถุที่แตกกระจายลอยไปในอากาศ 4.4 รังสีและสารกำมันตภาพรังสี 4.5 สารอื่น ๆที่มิได้ระบุไว้ 5. สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.1 ภายนอกอาคารโรงงาน 5.2 ภายในอาคารโรงงาน 5.3 ใต้ดิน 6. ตัวการอันตรายอื่น ๆ ที่มิได้จำแนกประเภทในข้างต้น 6.1 สัตว์มีอันตรายต่าง ๆ 6.2 ตัวการอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้
ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามลักษณะของความบาดเจ็บ เกิดบาดแผล กระดูกเลื่อน เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำบวม การกระทบกระเทือนและบาดเจ็บภายใน ถูกตัดหรือเฉือนเนื้อหรืออวัยวะออกไป บาดแผลอื่นๆ บาดฉกรรจ์ ถูกอัดกระแทกจนเละ ถูกไฟไหม้ ถูกสารพิษอย่างแรง แพ้สภาวะแวดล้อมในการทำงาน การสลบหมดสติ อันตรายจากกระแสไฟฟ้า อันตรายจากกำมันตรังสี ได้รับอันตรายผสมกันจากหลายสาเหตุ อันตรายอื่น ๆ ที่มิได้ระบุเอาไว้
ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามจุดที่เกิดแก่ร่างกาย ศีรษะ คอ ลำตัว แขนช่วงบน แขนช่วงล่าง ขาช่วงบน ปลายขา(ข้อเท้า,ฝ่าเท้า) ความบาดเจ็บทั่วไป ความบาดเจ็บหลายแห่งพร้อม ๆ กัน จุดบาดเจ็บอื่น ๆที่มิได้ระบุไว้
การเสริมสร้างความปลอดภัยโดยหลักการ 3 E การหามาตรการป้องกัน การเสริมสร้างความปลอดภัยโดยหลักการ 3 E ENGINEERING (วิศวกรรมศาสตร์) EDUCATION (การศึกษา อบรม) ENFORCEMENT (การออกกฎ ข้อบังคับ) EDUCATION (การศึกษา อบรม) • การศึกษาด้านความปลอดภัย (Safety Education) • การจัดฝึกอบรมด้านความปลอดภัย(Safety Training) • ขจัดทัศนคติเก่า ๆ เกี่ยวกับความปลอดภัย
กลยุทธ์การป้องกันอุบัติเหตุ ▪ การจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน ▪ การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (Job Safety Analysis) คือ การแยกแยะงาน หรือ งานย่อย ออกเป็นขั้นตอนการปฏิบัติงาน อาชีพ งานหลัก งาน งานย่อย ขั้นตอนการปฏิบัติ แม่บ้าน ทำอาหาร อาหารคาว ไข่เจียว ขั้นตอนการเจียวไข่
แบบวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย การชงกาแฟสูตร 1:2:2 ขั้นตอนการทำงาน อันตรายหรือความสูญเสียที่จะเกิด ตักกาแฟ 1 ช้อนชา ตักน้ำตาล 1 ช้อนชา ตักคอฟฟี่เมต 1 ช้อนชา กดน้ำร้อน คนให้เข้ากัน กาแฟหกเลอะเทอะ น้ำตาลหกเลอะเทอะ คอฟฟี่เมตหกเลอะเทอะ น้ำร้อนลวกมือ , แก้วหล่นแตก น้ำร้อนลวกมือ
ข้อเสนอแนะหรือแนวทางแก้ไข ขั้นตอนการทำงาน อันตรายหรือความสูญเสียที่จะเกิด ตักกาแฟ 1 ช้อนชา ตักน้ำตาล 1 ช้อนชา ตักคอฟฟี่เมต 1 ช้อนชา กดน้ำร้อน คนให้เข้ากัน กาแฟหกเลอะเทอะ น้ำตาลหกเลอะเทอะ คอฟฟี่เมตหกเลอะเทอะ น้ำร้อนลวกมือ , แก้วหล่นแตก น้ำร้อนลวกมือ , ส่วนผสมหกเลอเทอะ ข้อเสนอแนะหรือแนวทางแก้ไข ตักกาแฟเต็มช้อนพอดีเลื่อนถ้วยกาแฟให้ประชิดกระปุกกาแฟและอยู่ในระดับเดียวกัน ตักน้ำตาลเต็มช้อนพอดีและทำเช่นเดียวกับข้อ 1 ตักคอฟฟี่เมตเต็มช้อนพอดีและทำเช่นเดียวกับข้อ 1 ยกถ้วยกาแฟขึ้นแล้วจึงกดน้ำร้อน คนตามเข็มนาฬิกา 3 รอบเบาๆ คนทวนเข็มนาฬิกา 3 รอบเบา ๆ
การนำไปประยุกต์ใช้ มาตรการป้องกันที่เหมาะสมจะเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการ อาชีวะอนามัย และความปลอดภัยของโรงงาน นำไปใช้ในพื้นที่ ติดตามผลการปฏิบัติ ควรมีการวัดผลการปฏิบัติที่ชัดเจน ตัวอย่างปัญหาและแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ▪ คนงานไม่เข้าใจวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง▪ ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้อ่านเข้าใจง่าย ก่อนให้ลงมือทำงานให้ทวนคำสั่งเพื่อซ้อมความเข้าใจ ดูแล มิให้ถอดหรือดัดแปลงเครื่องจักรที่มีอุปกรณ์ครอบส่วนหมุน
บ่ายวันหนึ่ง ขณะที่นักศึกษากำลังฝึกงานภาคปฏิบัติ อยู่ในโรงงานฝึกงานแห่งหนึ่ง นาย กอ ได้วิ่งมาจากด้านหน้า โรงงาน ไม่ทราบจะไปไหน ระหว่างทาง เขาได้เลี้ยวซ้ายตรง หัวมุมที่เครื่องจักรตั้งอยู่ และบนพื้นมีน้ำมันหกเลอะเทอะ ทำให้ นาย กอ ลื่น และล้ม ศรีษะกระแทกอย่างแรง จนทำให้หมดสติ สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ คือ ความร้ายแรงหรือลักษณะของการบาดเจ็บ คือ ตัวการที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ คือ จุดที่เกิดอุบัติเหตุกับร่างกาย คือ มาตรการป้องกันเบื้องต้น คือ