โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Advertisements

องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
สื่อประกอบการเรียนรู้
สื่อประกอบการเรียนรู้
ของส่วนประกอบของเซลล์
BURN หมายถึง บาดแผลที่เกิดจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ความร้อนหรือประกายจากกระแสไฟฟ้า เป็นเหตุให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อบาดเจ็บ มีผลให้เกิดอาการช็อค เนื่องจากสูญเสียน้ำเป็นจำนวนมาก.
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
Group Acraniata (Protochordata)
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
โครโมโซม.
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
การเจริญเติบโตของมนุษย์
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
ระบบประสาท (Nervous System)
เฉลย หากสามารถค้นหาได้ภายในเวลา ๒๕ วินาทีนั่นแสดงว่า หากสามารถหาได้ในเวลา ๑ นาทีแสดงว่าสมองของนักเรียนพัฒนาตามปกติ
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การจัดระบบในร่างกาย.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
ระบบกระดูก.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเจริญเติบโตของร่างกาย
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
ซ่อมเสียง.
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
การเจริญเติบโตของร่างกาย
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
โครงสร้างและการทำงานของระบบประสาท สมอง และเส้นประสาทสมอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous sytem: PNS) ได้แก่ เส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลัง

ไขสันหลัง ไขสันหลัง (spinal cord) เป็นส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจากเมดัลลาออบลองกาตา อยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรกจนถึงกระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอวข้อที่ 2 และมีเยื่อหุ้มเช่นเดียวกับสมอง ไขสันหลังบริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไปแล้ว จะเรียวเล็กจนมีลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม ดังนั้นการฉีดยาเข้าที่บริเวณไขสันหลังและเจาะน้ำบริเวณไขสันหลังจึงทำกันต่ำกว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สองลงมา

เส้นประสาทไขสันหลัง เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสันหลังมีทั้งหมด 31 คู่ เป็นเส้นประสาทประสม(mixed never)แบ่งออกเป็นทั้งหมด 5บริเวณดังนี้ เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical never) 8 คู่ เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never) 12 คู่ เส้นประสาทบริเวณเอว (lumbar never) 5 คู่ เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral never) 5 คู่ เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (coccygeal never) 1 คู่ เส้นประสาทที่ไขสันหลังไปเลี้ยงแขนและขาจะมีความยาวมากกว่าไปเลี้ยงลำตัว

ระบบประสาทอัตโนมัติ เป็นระบบประสาทที่ทำงานนอกอำนาจจิตใจ (involuntary nervous system)เป็นระบบประสาทที่ควบคุมอวัยวะที่อยู่นอกอำนาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะต่าง ๆ กล้ามเนื้อหัวใจที่หัวใจ และต่อมต่าง ๆ ให้ทำงานโดยอัตโนมัติ ทำให้ร่างกายดำเนินชีวิต ได้อย่างปกติ การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติประกอบด้วย เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ มี 2 ตอน คือ • ตอนแรก คือ เส้นประสาทหน้าปมประสาทหรือเซลล์ประสาทก่อนแกลงเกลีย มีเยื่อไมอีลินห่อหุ้ม เชื่อมระหว่างระบบประสาทส่วนกลางกับปมประสาทอัตโนมัติ • ตอนที่ 2 คือ เส้นประสาทหลังปมประสาทหรือเซลล์ประสาทหลังแกงเกลีย เป็นเส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างปมประสาทอัตโนมัติ กับอวัยวะตอบสนอง ปมประสาทอัตโนมัติ • เป็นส่วนที่มีตัวเซลล์ประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ ที่อยู่นอกระบบประสาทกลางอยู่และเป็นตำแหน่งที่มีการไซแนปส์ของเซลล์ประสาทหน้าปมประสาทกับเซลล์ประสาทหลังปมประสาท

ระบบประสาทอัตโนวัติ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ โดยมีลักษณะในการทำงานตรงกันข้าม คือ • ระบบประสาทซิมพาเทติก (symoathetic nerve) • ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasymoathetic nerve)

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nerve)

ผิวหนังและการสัมผัส ผิวหนังปกคลุมห่อหุ้มร่างกายทั้งหมด ซึ่งภายในมีปลายประสาทรับความรู้สึกมากมาย เพื่อรับรู้การสัมผัส การกดความเจ็บ และอุณหภูมิร้อนเย็น ระบบผิวหนังมีหน้าที่สำคัญในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย และยังมีหน้าที่เป็นอวัยวะขับเหงื่อและไขมันด้วย