Late Preterm อ. รุจิรัตน์ มณีศรี อ. วรวุฒิ แสงทอง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ประเด็นสำคัญ เป็นโรคที่พบตั้งแต่แรกเกิด ต้องการการดูแลต่อเนื่องระยะยาว
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ต่อการส่งเสริมสุขภาพตา
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Late Preterm อ. รุจิรัตน์ มณีศรี อ. วรวุฒิ แสงทอง

มองดูเหมือนทารกครบกำหนด ทารกที่เกิดก่อนอายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์ มีอายุครรภ์ระหว่าง 34 ถึง 36 +6 สัปดาห์ TTNB late preterm มองดูเหมือนทารกครบกำหนด มีความไม่สมบูรณ์ของสรีรวิทยา ระบบประสาท รวมทั้งกลไกการปรับตัวกับสภาวะนอกมดลูก เช่นความสามารถในการกำจัดน้ำในปอด ( lung fluid ) ออกไปยังทำได้ไม่ดี

surfactant มีไม่สมบูรณ์ หยุดหายใจ ( apnea ) ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหยุดหายใจจากท่านอนที่ไม่ถูกต้อง ( positional apnea ) เช่นท่านอนที่ทำให้ลำคอพับหรือแหงนมากเกินไป เสี่ยงต่อการเกิด Sudden Infant Dead Syndrome ( SIDS ) เป็น 2 เท่าของทารกที่เกิดครบกำหนด เสี่ยง/เกิดภาวะหัวใจเต้นช้ากว่าปกติ (bradycardia ) หลังเกิดน้ำหนักลดลงมาก อุณหภูมิกายต่ำ นอนหลับมาก ดูดนมยังไม่เก่ง ดูดนมได้น้อย ส่งผลให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ขาดน้ำ และตัวเหลือง

late preterm มีสมองพิการ ( cerebral palsy ) มากกว่าทารกที่เกิดครบกำหนด ( เกิดเมื่ออายุครรภ์ 37 – 40 สัปดาห์ ) ถึง 3 เท่า ( Petrini, et al, 2009 )

การพยาบาล การควบคุมอุณหภูมิ อย่างเหมาะสม ดูแลทางเดินหายใจ การควบคุม/ การป้องกันการติดเชื้อ การดูแลทางโภชนาการ ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ประเมินการแหวะนม และการอาเจียน ประเมินการขับถ่าย อุจจาระและปัสสาวะ การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิด ขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว