การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โดย ศาสตราจารย์ศศิพัฒน์ ยอดเพชร คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เมล์ติดต่อ chanakan_nu@hotmail.com
หัวข้อบรรยาย 1. ความจำเป็นและความสำคัญในการส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 2. กรอบแนวคิดคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและ การจัดสวัสดิการสังคม 3. ปัญหาในการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ 4. บทบาทท้องถิ่นในการเสริมสร้างและพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 5. แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ
ตอนที่ 1 ความจำเป็นและความสำคัญ ในการส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
พีระมิดโครงสร้างประชากรไทย อดีต ปัจจุบัน และอนาคต (พ.ศ. 2513-2573) 1.1 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร พีระมิดโครงสร้างประชากรไทย อดีต ปัจจุบัน และอนาคต (พ.ศ. 2513-2573) พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2573 ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง แหล่งข้อมูล : พ.ศ. 2513, 2533 สำมะโนประชากรและเคหะ, สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2553, 2573 การฉายภาพประชากรของประเทศไทย, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปราโมทย์ ประสาทกุล, 2550. สัมมนาวิชาการเรื่อง “เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ” รัฐสภา 4
1.2 การเปลี่ยนแปลงประชากรของประเทศไทย จำนวน (ล้านคน) อัตรา (ต่อพัน) จำนวนประชากร อัตราเกิด อัตราตาย ปี พ.ศ. ปราโมทย์ ประสาทกุล, 2550. สัมมนาวิชาการเรื่อง “เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ” รัฐสภา 5 5
“ประชากรรุ่นเกิดล้าน” 1.3 ระเบิดประชากรลูกที่ 1 : ประชากรรุ่นเกิดล้าน (พ.ศ. 2506–2526) “ประชากรรุ่นเกิดล้าน” ปัจจุบันอายุ 26 – 46 ปี ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ “สถานการณ์ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548” ใน กฤตยา อาชวนิจกุล และ ปราโมทย์ ประสาทกุล (บรรณาธิการ).2548. 6 6
: การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัย 1.4 ระเบิดประชากรลูกที่ 2 : การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัย ร้อยละของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป (ต่อประชากรทั้งหมด ) สังคมสูงอายุ ระเบิด ประชากรสูงวัย ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล 2550 7
1.5 ประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุ พ.ศ. 2548 - 2583 จำนวน (ล้านคน) 18.0 26.9 % 25.1 % 16.0 23.0 % 22.7 % 20.7 % 14.0 19.0 % 19.8 % 17.2 % 16.8 % 12.0 16.0 % 15.1 % 66.7% 67.4% 67.0% 66.0% 64.1% 62.2% 60.5% 14.0 % 14.4 % 10.0 13.8 % 11.8 % 8.0 10.3 % 6.0 4.0 2.0 0.0 2548 2553 2558 2563 2568 2573 2578 2583 ปี พ.ศ. เด็ก ผู้สูงอายุ ปราโมทย์ ประสาทกุล, 2550. สัมมนาวิชาการเรื่อง “เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ” รัฐสภา 8 8 8
1.6 จำนวนและร้อยละของประชากรกลุ่มต่างๆ พ.ศ. 2550 c]t พ.ศ. 2580 กลุ่มอายุ 2550 2580 จำนวน (ล้าน) ร้อยละ ต่ำกว่า 15 ปี 13.9 22.1 8.9 14.1 15 – 59 ปี 42.1 67.1 37.7 60.0 60 ปีขึ้นไป 6.8 10.9 16.2 25.9 รวม 62.8 100.0 ปราโมทย์ ประสาทกุล, 2550. สัมมนาวิชาการเรื่อง “เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ” รัฐสภา 9
1.7 อายุคาดเฉลี่ย ที่อายุ 60 ปี และอายุ 65 ปี พ.ศ. 2550 1.7 อายุคาดเฉลี่ย ที่อายุ 60 ปี และอายุ 65 ปี พ.ศ. 2550 อายุคาดเฉลี่ย ชาย หญิง อายุ 60 ปี 19.1 22.2 อายุ 65 ปี 15.7 18.2 ที่มา: สารประชากร. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555 10
2550 2560 2570 1.8 อัตราส่วนการเป็นภาระ วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ วัยแรงงาน 6 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน วัยแรงงาน 3 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน วัยแรงงาน 4คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน อัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 16.11 ปี 2550 เป็นร้อยละ 23.07 ในปี 2570 อายุคาดหมายเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเพิ่มขึ้นในช่วง 2548 - 2553 จากชาย 70.59 หญิง 77.45 เป็นชาย 75.91 หญิง 82.66 ในช่วง 2563-2573 จำนวนประชากรรวมของประเทศ 66.04 ปี 2550 และเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงจนถึงปี 2568 มีจำนวนประชากรสูงสุด 70.65 ล้านคน และเริ่มลดลงหลังจากนั้น
1.9 สภาวะสังคมผู้สูงอายุ ประชากรสูงอายุ (Aging Population) - อายุยืนยาวขึ้น - สุขอนามัยดีขึ้น - อยู่โดดเดี่ยวมากขึ้น - พึ่งตนเองมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ความทันสมัย (Social Change) (Modernization) - เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว - ผู้สูงอายุถูกจำกัดการทำงาน - สภาวะแวดล้อมอื่นๆ สภาวะ สังคมผู้สูงอายุ - อัตราเกิดลดลง - แต่งงานช้า/ หย่าร้างสูง - เปลี่ยนแปลง/ วิธีการดำเนินชีวิต
ตอนที่ 2 กรอบแนวคิด คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และการจัดสวัสดิการสังคม
2.1 กรอบแนวคิดของคุณภาพชีวิตในวัยสูงอายุ นโยบายสาธารณะที่ดี โลกทัศน์ ของสังคม นิพพาน เรียนรู้ต่อเนื่อง มีส่วนร่วมในสังคม ชุมชนเข้มแข็งครอบครัวอบอุ่น ร่าเริงเจ่มใส ภูมิใจ มีประโยชน์ สติ-สมาธิ แข็งแรง เศรษฐกิจพอเพียง สิ่งแวดล้อมดี ปัญญา กาย จิต สังคม คุณภาพ ชีวิต (ประเวศ วะสี, 2542, น. 14)
2.2 การสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้สูงอายุ เป็นการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับ โครงการ ประโยชน์ และบริการ โดย ภาครัฐ เอกชน และประชาชน เพื่อ คุ้มครองความอยู่ดีมีสุขของ “ผู้สูงอายุ” จุดมุ่งหมาย “การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ”
2.3 สวัสดิการสังคม : ระบบบริการ หมายถึง กิจกรรมที่รัฐบาลเป็นหลักในการจัดให้มีขึ้น เพื่อเป็นการคุ้มครองความอยู่ดีมีสุขของประชาชน โดยมีบริการทั้งอย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ จากผู้ให้บริการหลากหลายอาชีพ
2.4 สวัสดิการผู้สูงอายุ เป็นการดำเนินการที่เกี่ยวกับโครงการ ประโยชน์และบริการที่จัดขึ้น โดยภาครัฐ เอกชนและประชาชน เพื่อความคุ้มครองความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุ
องค์ประกอบสวัสดิการสังคม 2.5 การจัดบริการสวัสดิการสังคมในชุมชน องค์ประกอบสวัสดิการสังคม 1.การสร้างหลักประกันด้านรายได้ 2. บริการสังคม 3.การช่วยเหลือ บริการในชุมชน
ขอบเขตของงาน (1) การประกันสังคม (Social Insurance) เป็นการสร้างหลักประกันในการดำรงชีวิตในกลุ่มของสมาชิกมีรายได้และจ่ายเงินสมทบที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อรับผิดชอบในการเฉลี่ยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
(2) การช่วยเหลือสาธารณะ (Public Assistance) เป็นบริการที่จัดขึ้นสำหรับ ผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ผู้ยากไร้ ผู้ที่ต้องพึ่งพิง ผู้อื่น และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม เป็นลักษณะ การสงเคราะห์แบบให้เปล่า
(3) บริการสังคม (Social Services) เป็นบริการที่จัดขึ้นโดยภาครัฐ และเอกชน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน 6 ด้าน ได้แก่ สุขภาพอนามัย การศึกษา ที่อยู่อาศัย การมีงานทำและการมีรายได้ บริการสังคม และนันทนาการ
ตอนที่ 3 ปัญหาในการจัด สวัสดิการผู้สูงอายุ
3.1 ระดับนโยบายและแนวคิด นโยบายของรัฐไม่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา . ส่งเสริมความ เข้มแข็งของ ครอบครัว นโยบายของรัฐ แผนพัฒนาครอบครัวฯ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ขาดการนำนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง
ระบบบริการไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้สูงอายุ 3.1 ระดับนโยบายและแนวคิด (ต่อ) ระบบบริการไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้สูงอายุ สงเคราะห์เฉพาะหน้า แบบบรรเทาปัญหา แนวคิด รูปแบบ บริการ ผู้ยากไร้/ ผู้ประสบปัญหา ในสถาบัน /สถานสงเคราะห์ ไม่มีบริการสำหรับ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
3.2 ระดับหน่วยงาน ระบบบริการไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้สูงอายุ หน่วยงานที่ให้บริการ ด้านสุขภาพ หน่วยงานที่ให้บริการ ในชุมชน (1) การจัดบริการแบบแยกส่วน (2) บริการไม่สามารถตอบสนองต่อผู้ใช้บริการที่เป็นผู้สูงอายุ (3) การขาดลักษณะการกระจาย (4) การขาดบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน (5) คุณภาพของบริการ (1) การขาดระบบการบริหาร จัดการด้านสวัสดิการผู้สูงอายุ (2) ปัญหาด้านงบประมาณ (3) ข้อจำกัดด้านบุคลากร (4) การขาดฐานข้อมูลอย่าง บูรณาการ (5) การมีเครือข่ายความร่วมมือ ที่จำกัด
3.3 ระดับการปฏิบัติ 1 2 3 4 ทั่วประเทศ วิธีการให้บริการไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุ 1 2 3 4 มีบริการจำกัด ขาดคุณภาพและความยั่งยืน แบบเดียวกัน ทั่วประเทศ ขาดแคลนบริการผู้ที่เข้าสู่ภาวะพึ่งพิง
การขาดความพร้อมด้านการบริหารจัดการ 3.3 ระดับการปฏิบัติ (ต่อ) การขาดความพร้อมด้านการบริหารจัดการ ขาด บุคลากร ท้องถิ่น ขาดประสบการณ์ ขาด ความรู้เฉพาะด้าน
การเข้าสู่บทบาทผู้ดูแล ขาดแคลนรายได้ และอาชีพ 3.4 ระดับกลุ่มเป้าหมาย ขาดการเตรียมความพร้อม การเข้าสู่บทบาทผู้ดูแล ครอบครัว/ผู้สูงอายุบางกลุ่ม ขาดแคลนรายได้ และอาชีพ การขาดความรู้ ในด้านต่างๆ การมีทัศนคติทางลบ ต่อความชรา
ตอนที่ 4 บทบาทท้องถิ่นใน การเสริมสร้างและพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
4.1 การดูแลด้านสังคม โดย อปท. (1) หน้าที่ของท้องถิ่นตามกฎหมาย 1) กฎหมายรัฐธรรมนูญ 2) กฎหมายผู้สูงอายุ พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 และ ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2553 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดหน่วยงานผู้มีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ ดำเนินการเกี่ยวกับ การคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่างๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2553 30 30
สิทธิตาม พ.ร.บ. ผู้สูงอายุ (ม.11) กองทุนผู้สูงอายุ การแพทย์และสาธารณสุข การจัดงานศพ การศึกษา ศาสนา และข้อมูลข่าวสาร ลดหย่อนและยกเว้นภาษี ประกอบอาชีพ /ฝึกอาชีพ เบี้ยยังชีพ พัฒนาตนเองและ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ช่วยเหลือที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่ม อำนวยความสะดวก และความปลอดภัย จัดกิจกรรม กีฬาและนันทนาการ ลดค่าโดยสารยานพาหนะ ยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ ช่วยเหลือผู้สูงอายุ 31
หน้าที่ของท้องถิ่นตามกฎหมาย (ต่อ) 1. การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม 2. การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน 3. การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ 4. การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง 5. การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ตามความเป็นจำเป็นอย่างทั่วถึง 6. การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
แผน 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลระยะยาวในระดับท้องถิ่น (2) หน้าที่ของท้องถิ่นตามแผน แผนปฏิบัติการผลักดันและขับเคลื่อนประเด็นการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ.2554–2556) ประกอบด้วย แผน 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลระยะยาวในระดับท้องถิ่น 1.1 สนับสนุนกระบวนการประเมิน “ผู้ต้องได้รับการดูแลระยะยาว” ให้แก่ท้องถิ่น
หน้าที่ของท้องถิ่นตามแผน (ต่อ) 1.2 สนับสนุนการดูแลระยะยาวให้ครอบครัว - ให้คำปรึกษาและการสนับสนุนด้านจิตใจ - บริการดูแลชั่วคราวที่บ้าน - บริการดูแลกลางวัน - ศูนย์รวมอุปกรณ์การดูแลระดับชุม 1.3 สนับสนุนศักยภาพโดยการฝึกอบรมการดูแลระยะยาวให้แก่ผู้ดูแลทั้งที่เป็นสมาชิกครอบครัวและผู้ดูแลที่เป็นบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือที่เป็นอาสาสมัคร
แผน 2 การดูแลระยะยาวที่ดำเนินการโดยหน่วยงานรัฐส่วนกลาง หน้าที่ของท้องถิ่นตามแผน (ต่อ) แผน 2 การดูแลระยะยาวที่ดำเนินการโดยหน่วยงานรัฐส่วนกลาง 2.1 จัดทำนิยาม เกณฑ์ และแบบประเมิน “ผู้ต้องได้รับการดูแลระยะยาว” 2.2 จัดทำมาตรฐานสถานบริการด้านการดำเนินงานและบุคลากร - บ้านพักผู้สูงอายุ (Residential home) - สถานบริบาล (Nursing home) 2.3 จัดตั้งบริการดูแลกลางวันและการดูแลชั่วคราวในสถานบริการภาครัฐหน่วยงานที่รับผิดชอบ 2.4 ศูนย์ข้อมูลผู้ที่ได้รับการประเมินว่าต้องได้รับการสนับสนุนด้านการดูแลระยะยาวจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน้าที่ของท้องถิ่นตามแผน (ต่อ) 2.5 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา และ/หรือ พัฒนานโยบาย - บริการการพยาบาลที่บ้าน(Home nursing services) - บริการสุขภาพที่บ้านและชุมชนอย่างบูรณาการ (Home-based and community services) - บริการโรงพยาบาลกลางวันและบริการดูแลขั้นกลาง (Day Hospital & Intermediate care) - ระบบการดูแลรักษาผู้สูงอายุในโรงพยาบาล 2.6 ส่งเสริมและพัฒนาการพยาบาลที่บ้าน 2.7 พัฒนากำลังคนด้านการดูแลระยะยาว
หน้าที่ของท้องถิ่นตามแผน (ต่อ) แผน 3 การดำเนินการเพื่อสนับสนุนทางการเงิน/การคลัง 3.1 สนับสนุนทางการเงินให้แก่ผู้ดูแลในครอบครัวที่ดูแล “ผู้ต้องได้รับการดูแลระยะยาว” 3.2 สนับสนุนทางการเงิน/ภาษีให้แก่ภาคเอกชน/กลุ่มไม่หวังผลกำไรที่ให้บริการ “สถานบริบาล”(Nursing home) 3.3 สนับสนุนทางการเงินเพื่อปรับปรุงบ้านสำหรับผู้ต้องได้รับ การดูแลระยะยาว
บทที่ 5 แนวทางการพัฒนาการจัด สวัสดิการผู้สูงอายุ
5.1 การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ในการจัดบริการด้านสวัสดิการผู้สูงอายุ มุมมองผู้รับบริการ เปลี่ยนจาก ผู้ที่อ่อนแอ/ผู้รับ ผู้ที่มี ศักยภาพ/ผู้ให้
2 แนวทาง คน สิ่งแวดล้อม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม/ วัฒนธรรม การบูรณาการ
ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ เป้าหมาย 3 ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (Active Ageing) (1) ผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จ (Successful Ageing) (2) ผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์ (Productive Aging)
(1) ผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จ (Successful Ageing) ความหมาย ผู้สูงอายุที่มีลักษณะเหมาะสมตามวัย ในทุกมิติของ การดำเนินชีวิต อันได้แก การมีสุขภาพที่ดี มีส่วนร่วม หรือ มีกิจกรรมกับครอบครัว ชุมชนและสังคม ตลอดจนมีความ มั่นคงในชีวิต เน้นมิติทางสังคม และอารมณ์จากความพึง พอใจในชีวิต โดยการมองคุณค่าในตนเอง และการปฏิบัติ กับผู้อื่น
องค์ประกอบของผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จ ความพึงพอใจในชีวิต (life satisfaction) ความสุข (happiness) กำลังใจ (morale) ความพอใจ (contentment) การรับรู้เกี่ยวกับคุณภาพชีวิต
(2) ผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์ (Productive Aging) หมายถึง ผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์ จึงเน้นที่ผู้สูงอายุที่ยังมี ความสามารถในการผลิตหรือการบริการ แม้ว่าผลผลิตหรือ บริการที่ได้นั้น อาจได้ผลตอบแทนเป็นตัวเงิน หรือไม่ก็ตาม ดังนั้น ผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์ อาจจะปฏิบัติกิจกรรม ทั้งที่ เป็นทางการ และ ไม่เป็นทางการ ได้รับค่าตอบแทน หรือไม่ ได้รับค่าตอบแทน ที่มีอิทธิพลทางบวกต่อสภาวะทาง จิตใจ และ สุขภาวะของผู้สูงอายุ (Hooyman R. Nancy, 2002)
5.2 สวัสดิการที่ผู้สูงอายุพึงปรารถนา สวัสดิการที่พึงปรารถนากับสถานะปัจจุบัน ค่าครองชีพ ถ้วนหน้า ภายใต้โครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (แต่ไม่เพียงพอ สำหรับกลุ่มที่ยากจน + อยู่ในภาวะพึ่งพิง) - ถ้วนหน้า สำหรับข้าราชการ (บำเหน็จ/บำนาญ) และ แรงงานในระบบ ,ม.40 (แต่ประกันสังคม : แต่รัฐไม่ได้สมทบ) - แรงงานนอกระบบ มี ม.40 (แต่มีผู้เข้าร่วมน้อยมาก) การดูแลสุขภาพกาย อารมณ์ และจิตใจ - ถ้วนหน้าแล้ว ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สิทธิข้าราชการ ประกันสังคม - ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (อปท.) สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ (พม.) ยังไม่ถ้วนหน้า การจัดหางานและฝึกอาชีพ - ถ้วนหน้า โดยกรมการจัดหางาน และกรมพัฒนาฝึมือแรงงาน แต่มีปัญหาในทางปฏิบัติ Extra Care/ LTC - มีนโยบายและแผนปฏิบัติแล้ว ได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก - ยังไม่ถ้วนหน้า บริการจัดการศพ - ถ้วนหน้า ภายใต้การสงเคราะห์การจัดศพตามประเพณี ..(พม.) และแรงงานในระบบ ภายใต้ระบบประกันสังคม ปรับปรุงจาก “เปรียบเทียบสวัสดิการที่พึงปรารถนากับสถานะปัจจุบัน ” ใน สู่ระบบสวัสดิการสังคมถ้วนหน้าภายในปี พ.ศ. 2560 โดย สมชัย จิตสุชน , 2554.
5.3 ชุมชนที่มีการจัดการที่ดี 1. การมีฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่สมบูรณ์ 2. การมีระบบดูแลอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ 3. การใช้ทุนทางสังคมให้เป็นประโยชน์ 4. การมีผู้นำและทีมงานที่มีจิตสวัสดิการ 5. การจัดบริการผ่านการความตระหนักรู้ของชุมชน 6. การมีระบบการประเมินบริการที่มีประสิทธิภาพ 7. การบูรณาการบริการ
ตัวอย่าง โครงสร้างการบูรณาการบริการผู้สูงอายุในส่วนการปกครองท้องถิ่น ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ หน่วยงาน บริการด้านสังคม บริการด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุและผู้พิการที่ต้องการการดูแล อาสาสมัคร หน่วยงานวิชาการ นโยบาย ประสานงาน เทศบาล / อบต งบประจำปี ของ อปท. งบ สปสช. งบกองทุนสวัสดิการชุมชน วิชาการ POE งบกองทุน สุขภาพตำบล งบอื่นๆ สถาบัน ด้านการรักษา ตัวอย่าง
5.4 สรุปบทบาทขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เป้าหมาย - คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ รูปแบบบริการ - เข้าถึง/ต่อเนื่อง/องค์รวม/ ผสมผสาน/ ประสานบูรณาการ หน้าที่ - ผู้ให้บริการ - จัดการและประสาน - เสริมศักยภาพ/สนับสนุน บทบาทระดับบริหาร - นโยบายที่เอื้อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี - ส่งเสริมการเรียนรู้ ในการปรับตัว สนับสนุนงบประมาณ บทบาทระดับบริการ - เตรียมชุมชนเข้าใจ รู้คุณค่าสูงอายุ/โรค /การช่วยเหลือ/ หาศักยภาพ เครือข่ายการเกื้อหนุนในชุมชน -สร้างแกนนำ/อาสาสมัคร เครือข่าย/ชมรม