การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Thesis รุ่น 1.
OUTCOME MAPPING วัดให้ง่าย วัดให้ชัด วัดที่พฤติกรรม
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
สรุปเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
Performance Skills By Sompong Punturat.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
การติดตาม และประเมินโครงการ.
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประเมินผลการเรียน
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
การเขียนแผนแบบUBD.
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
ทักษะการคิดวิเคราะห์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 11.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หลักการเขียนโครงการ.
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric) หลักสูตร 3 ชั่วโมง หน่วยที่ 5 การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)

เกณฑ์การประเมิน (Rubric) คืออะไร

องค์ประกอบของเกณฑ์การประเมิน (Rubric) 1.เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมิน (criteria) เป็นการพิจารณาว่าการปฏิบัติงานหรือผลงานนั้นประกอบด้วยคุณภาพอะไรบ้าง 2.ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ (Performance Level) เป็นการกำหนดจำนวนระดับของเกณฑ์ (criteria)ว่าจะกำหนดกี่ระดับ ส่วนมากจะกำหนดขึ้น 3-6 ระดับ

เกณฑ์การประเมิน (Rubric) มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ 3.การบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับความสามารถ (Quality Description) เป็นการเขียนคำอธิบายความสามารถให้เห็นถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนในแต่ละระดับ ซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการตรวจให้คะแนน

ชนิดของเกณฑ์การประเมิน (Rubric) เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric) เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric)

เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric) เป็นการประเมินภาพรวมของการปฏิบัติงานหรือผลงาน โดยดูคุณภาพโดยรวมมากกว่าดูข้อบกพร่องส่วนย่อย การประเมินแบบนี้เหมาะกับการปฏิบัติที่ต้องการให้นักเรียนสร้างสรรค์งานที่ไม่มีคำตอบที่ถูกต้องชัดเจนแน่นอน ผู้ประเมินต้องอ่านหรือพิจารณา ผลงานให้ละเอียด ส่วนใหญ่มักกำหนดระดับคุณภาพอยู่ที่ 3-6 ระดับ

เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric) เป็นการประเมินที่ต้องการเน้นการตอบสนองที่มีลักษณะเฉพาะ ไม่เน้นความคิดสร้างสรรค์ ผลลัพธ์ขั้นต้นจะมีคะแนนหลายตัว ตามด้วยคะแนนรวม ใช้เป็นตัวแทนของการประเมินหลายมิติ เกณฑ์การประเมินแบบนี้จะได้ผลสะท้อนกลับค่อนข้างสมบูรณ์ เป็นประโยชน์สำหรับผู้เรียนและผู้สอนมาก ผู้สอนที่ใช้เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วนนี้ จะสามารถสร้างเส้นภาพ (Profile) จุดเด่น-จุดด้อย ของผู้เรียนแต่ละคนได้

ประโยชน์ของเกณฑ์การประเมิน (Rubric) 1.ช่วยให้ความคาดหวังของครูที่มีต่อผลงานของผู้เรียน บรรลุความสำเร็จ 2.ช่วยให้ครูเกิดความชัดเจนว่าต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อะไรบ้าง 3.ผู้เรียนสามารถใช้เกณฑ์การประเมินตัดสินคุณภาพผลงานของตนเอง 4.ผู้เรียนระบุคุณลักษณะจากงานที่เป็นตัวอย่างได้โดยใช้เกณฑ์การประเมินตรวจสอบ 5.ผู้เรียนสามารถควบคุมตนเองในการปฏิบัติงานเพื่อไปสู่ความสำเร็จได้ 6.เป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมการปฏิบัติงานต่างๆ ของผู้เรียน

ประโยชน์ของเกณฑ์การประเมิน (Rubric) 7.ช่วยลดเวลาของครูผู้สอนในการประเมินงานของผู้เรียน 8.ช่วยเพิ่มคุณภาพผลงานของผู้เรียน 9.สามารถยืดหยุ่นตามสภาพของผู้เรียน 10.ทำให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เข้าใจในเกณฑ์การตัดสินผลงานผู้เรียน ที่ครูใช้ในการให้เหตุผลประกอบการให้ระดับคุณภาพ

ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การประเมิน (Rubric) 1.วิเคราะห์และระบุตัวชี้วัด 2.อธิบายคุณลักษณะ ทักษะหรือพฤติกรรมที่ผู้สอนต้องการ 3.กำหนดระดับคุณภาพว่าจะใช้กี่ระดับ 4.อธิบายลักษณะการปฏิบัติของแต่ละระดับคุณภาพ 5.ทบทวนเกณฑ์การประเมินที่ทำแล้ว ว่ามีความต่อเนื่องหรือไม่ และเกณฑ์แต่ละระดับต้องขาดจากกัน

ข้อสังเกต เกณฑ์การประเมินจะต้องมีหลักฐานแสดงให้เห็นถึงความเที่ยงตรงของการพิจารณาผลงานออกมาในรูปของระดับคะแนนที่เป็นตัวแทนของพฤติกรรมให้เป็นรูปธรรมที่ปกติไม่สามารถมองเห็นได้ง่าย ดังนั้น เกณฑ์การประเมินจะต้อง... 1. สะท้อนให้เห็นถึงการวิเคราะห์ผลงานตามระดับความสามารถต่างๆกัน 2. อธิบายคุณภาพของการปฏิบัติงานไม่ใช่ปริมาณงาน 3.เน้นเกณฑ์การแสดงออกตามสภาพจริง