กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น การออกแบบแหล่งจ่ายแรงดันกระแสสลับโดย ใช้วงจรขยายกำลังเชิงเส้น เพื่อลดค่า THD ของแรงดันจากโหลด โดย กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การรบกวนกันเอง บทนำ P1 โหลดที่ไม่เป็นเชิงเส้น ฮาร์โมนิกส์ที่มาจาก Line จุดต่อร่วม ฮาร์โมนิกส์ที่มาจาก Line ไปยังโหลด การรบกวนกันเอง ระหว่างโหลดและโหลด อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความไวต่อสภาวะแรงดันที่มารบกวน
แหล่งจ่ายไฟทั่วไปที่ไม่มี P2 แหล่งจ่ายไฟทั่วไปที่ไม่มี ระบบควบคุมย้อนกลับ ฮาร์โมนิกส์ที่มาจาก Line ฮาร์โมนิกส์จากโหลด ที่ไม่เป็นเชิงเส้น จุดต่อร่วม การรบกวนกันเอง ระหว่างโหลดและโหลด อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความไวต่อสภาวะแรงดัน
วิธีที่นำเสนอ P3 Active Filter ฮาร์โมนิกส์จากโหลด ที่ไม่เป็นเชิงเส้น ฮาร์โมนิกส์ที่มาจาก Line จุดต่อร่วม การรบกวนกันเอง ระหว่างโหลดและโหลด อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความไวต่อสภาวะแรงดัน
รูปที่1 การทำงานของวงจรกรองแบบแอกทีฟโดยการอนุกรม P4 หลักการทำงาน จากรูป Io = Ic ดังนั้นกำลังสูงสุดจะได้ P =Vo x Ic รูปที่1 การทำงานของวงจรกรองแบบแอกทีฟโดยการอนุกรม
รูปที่2 วงจรกรองแบบแอกทีฟโดยการอนุกรม P5 การออกแบบ รูปที่2 วงจรกรองแบบแอกทีฟโดยการอนุกรม
การทดลอง AC Line จุดที่จะทำการวัด Active Filter ที่ทำการออกแบบ P6 Full Bridge Rectifier 150VA Vc Vo AC Line Active Filter ที่ทำการออกแบบ Ifb จุดต่อร่วม Vs IR โหลดความต้านทาน60 W จุดที่จะทำการวัด
ผลการทดลอง รูปที่3 ไม่มี Active filter P7 Vo Io (a)Vo(100V/div)และIo(1.25A/div) (b)สเปกตรัมของVo,THD=3.99% รูปที่3 ไม่มี Active filter
รูปที่4 มี Active filter P8 Vo Vc (a)Vo(100V/div)และIo(1.25A/div) (b)สเปกตรัมของVo,THD=0.44% รูปที่4 มี Active filter
รูปที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่าแรงดันอินพุท และ %THD ของแรงดัน P9 %THD แรงดันเอาท์พุท แรงดันอินพุท แรงดันอินพุท รูปที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่าแรงดันอินพุท และ %THD ของแรงดัน รูปที่ 6 ความสัมพันธ์ระหว่าแรงดันอินพุท และแรงดันเอาท์พุท
P10 สรุป 1. สามารถลดค่า THD ของแรงดัน ณ จุดต่อร่วมจาก 3.99% เหลือเพียง 0.44% 2. สามารถรักษาแรงดันให้คงที่ที่ 220 V เมื่อมีแรงดันเปลี่ยนแปลงอยู่ระหว่าง 200-235 V
ผู้เข้าร่วมฟังบรรยายทุกท่าน ขอขอบคุณ ผู้เข้าร่วมฟังบรรยายทุกท่าน