ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
สัมมนาทางชีวิทยา เสนอ อ. ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น. ส
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เรื่อง หอยเชอรรี่ กลุ่ม ที่ 3
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
การเจริญเติบโตของพืช
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น เชื้อราเมตตาไรเซียม ควบคุมด้วงหนวดยาว โดย... นพวิชญ์ คำขะ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

ด้วงหนวดยาว (Stem boring grub) แมลงกอก

ความสำคัญ เป็นแมลงศัตรูอ้อยที่สำคัญ ทำความเสียหายแก่อ้อยอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะที่เป็นตัวหนอน แพร่กระจายและทำลายเป็นบริเวณกว้าง ทำให้ผลผลิตอ้อยปลูกลดลง 13-43 เปอร์เซ็นต์ น้ำตาลลดลง 11-46 เปอร์เซ็นต์ ส่วนในอ้อยตอเสียผลผลิตประมาณ 54 เปอร์เซ็นต์ น้ำตาลลดลง 57 เปอร์เซ็นต์

วงจรชีวิต ระยะไข่ มีอายุ 11-27 วัน ระยะไข่ มีอายุ 11-27 วัน ระยะตัวหนอน มีอายุ 1-2 ปี ลอกคราบ 7-8 ครั้ง ระยะดักแด้ มีอายุ 7-18 วัน ระยะตัวเต็มวัย มีอายุ 6-20 วัน

รูปร่างลักษณะ ไข่ รูปยาวรี สีน้ำตาลอ่อน ยาว 3.0-3.5 มิลลิเมตร ไข่ รูปยาวรี สีน้ำตาลอ่อน ยาว 3.0-3.5 มิลลิเมตร กว้าง 0.8-1.0 มิลลิเมตร หนอน สีขาวนวล ทรงกระบอก หัวกะโหลกสีน้ำตาล มีเขี้ยวแข็งแรง ขาขนาดเล็กมากแทบมองไม่เห็น ตัวยาว 70-100 มิลลิเมตร กว้าง 20-30 มิลลิเมตร

รูปร่างลักษณะ ประมาณ 40-50 มิลลิเมตร กว้าง 24-26 มิลลิเมตร มีหนวด ขาและปีกอยู่ข้างลำตัว ความยาว ประมาณ 40-50 มิลลิเมตร กว้าง 24-26 มิลลิเมตร สีน้ำตาลแดง ยาว 24-40 มิลลิเมตร กว้าง 10-15 มิลลิเมตร ดักแด้ ดักแด้ ตัวเต็มวัย

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม พบระบาดมากในสภาพดินร่วนปนทราย ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) 6.9 ดินมีซากอินทรียวัตถุ 1.15-1.22 เปอร์เซ็นต์ พืชอาหารที่สำคัญได้แก่ อ้อย มันสำปะหลัง

การระบาดและทำลาย ตัวเต็มวัยจะออกจากดักแด้ในดินหลังฝนตก 2-4 วัน ในเวลากลางคืน ช่วง มี.ค.-มิ.ย. ผสมพันธุ์และวางไข่เดี่ยวๆ บริเวณใกล้โคนกออ้อย ตัวเมียสามารถวางไข่ได้ 41-441 ฟอง 11-27 วัน ฟักเป็นตัวหนอน เข้าทำลายอ้อย

การเข้าทำลาย การเจริญเติบโต เข้าทำลายอ้อยได้ ตั้งแต่ระยะ เข้าทำลายได้เกือบตลอดอายุ การเจริญเติบโต เข้าทำลายอ้อยได้ ตั้งแต่ระยะ ท่อนพันธุ์เป็นต้นไป

เข้าทำลายทางโคนต้นใต้ดิน แล้วเจาะกินภายในลำ ต้น ลักษณะการทำลาย หนอนเจาะไชเข้าไปกัดกินท่อนพันธุ์ ทำให้ไม่งอก เข้าทำลายทางโคนต้นใต้ดิน แล้วเจาะกินภายในลำ ต้น

ร่องรอยการทำลาย

หนอนด้วงหนวดยาวที่ขุดพบในแปลงอ้อย

การป้องกันกำจัด เพื่อลดปริมาณ 1. เก็บตัวหนอนในขณะที่ไถเตรียมดิน 1-2ครั้ง เพื่อลดปริมาณ 2.ใช้วิธีกล โดยขุดหลุมดักจับตัวเต็มวัย แล้วทำลาย 3.ปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อตัดทำลายวงจรชีวิต 4.ใช้สารเคมี 5.ชีววิธี เช่น เชื้อราเมตตาไรเซี่ยม

เชื้อราเมตตาไรเซียม ควบคุมด้วงหนวดยาว

เชื้อราเมตตาไรเซียม เมตตาไรเซียม (Metarhizium anisopliae) เป็นเชื้อราที่มีคุณสมบัติในการเป็นศัตรูธรรมชาติ ทำลายแมลงได้หลายชนิด รวมทั้งด้วงหนวดยาวเจาะลำต้นอ้อย(Dorysthenes buqueti, Guerin) สามารถทำลายด้วงได้ทุกระยะ ทำลายหนอนได้มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่ง

ลักษณะการทำลาย เมื่อเชื้อราเมตตาไรเซียมสัมผัสหรือติดไปกับตัวแมลง เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม เชื้อจะเจริญ เข้าไปในตัวแมลง และเพิ่มปริมาณ ทำให้แมลงเคลื่อนไหวช้าลง ไม่กินอาหาร และตายในที่สุด แมลงที่ตายลำตัวจะแข็งและมีเชื้อราสีเขียวขึ้นตามตัว เห็นได้ชัด

หนอนด้วงหนวดยาวที่ถูกเชื้อราฯทำลาย

การนำไปใช้ในการควบคุมด้วงหนวดยาว ปัจจุบัน ได้มีการนำเชื้อราเมตตาไรเซียม มาเพาะเลี้ยงและผลิตขยายเพื่อเพิ่มปริมาณ แล้วไปใช้ในการควมคุมด้วงหนวดยาว โดยศูนย์ชีวินทรีย์แห่งชาติ ร่วมกับศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น ทำการศึกษาทดสอบ ในพื้นที่ปลูกอ้อย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น

การผลิตขยาย 1.การเตรียมหัวเชื้อ หนอนที่ตายด้วยเชื้อราฯ เลี้ยงด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อ

2. วัสดุ-อุปกรณ์ 2.1 ข้าวสารเสาไห้ 2.2 หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 2.3 ทัพพีตักข้าว 2.4 ถุงพลาสติกทนร้อน ขนาด 8 x 12 นิ้ว 2.5 แม็กเย็บ หรือ ยางรัด 2.6 เข็มหมุด 2.7 แอลกอฮอล์สำหรับฆ่าเชื้อ

3. การผลิต หุงข้าว

บรรจุถุง ทิ้งไว้ให้เกือบเย็น

ใส่เชื้อ บ่มเชื้อ 7-10 วัน

เชื้อราเมตตาไรเซียมที่ บ่มเชื้อไว้ 7-10 วัน สามารถนำไปใช้ควบคุมด้วงหนวดยาวได้

การนำไปใช้ 1.โดยหว่านพร้อมการปลูก

2. ผสมน้ำราดพร้อมการปลูก

ไถกลบทันทีหลังการใส่เชื้อ

ขุดสำรวจหลังการใส่เชื้อฯ หนอนที่ตายด้วยเชื้อรา

หนอนด้วงหนวดยาวที่ตายด้วยเชื้อราเมตตาไรเซียม

ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น สวัสดี ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น ถนน มิตรภาพ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โทร. 0-4320-3512