ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
Group Acraniata (Protochordata)
ความทุกข์ที่เกินทน จะหลอมคนให้ทนทาน
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
BIOL OGY.
การเจริญเติบโตของมนุษย์
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ใบ Leaf or Leaves.
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
หนอนพยาธิ (Helminth).
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
การจำแนกวงศ์ ในอันดับโอโดนาต้าและออร์ทอพเทอร่า
การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
เราไปกัน เลย ปิด โปรแกร ม ก. แมว ค. นก ข. ม้า ง. ควาย อ๋อ..... รู้ แล้ว.
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
ขาของแมลง (Insect Legs)
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
การออกแบบการเรียนรู้
การออกแบบการเรียนรู้
ด้วงกว่าง.
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
Welcome to .. Predator’s Section
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
เห็นชัด ๆ อาทิตย์คู่จันทร์ ชายคู่หญิง ดอกไม้คู่แมลง แม้แต่ร่างกายของตัวเรา แต่ละคน ยังประกอบด้วยชิ้นส่วน ที่เป็นคู่ทั้งนั้น.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
Subphylum Uniramia Class Insecta 1. รยางค์เป็นแบบ Uniramous
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects) บทปฏิบัติการที่ 2 ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects) The Arthropods Phylum( arthros=joint, podus=foot) ประกอบด้วยสปีซี่ต่างประมาณ 1,000,000 สปีซี่ ซึ่งเป็นปริมาณสองในสามของ สปีซี่ของสิ่งมีชีวิตในโลกที่มีการค้นพบ โดยประกอบด้วยสองส่วนหลักๆ ดังนี้ มีอวัยวะเป็นข้อปล้อง(Jointed appendages) ส่วนที่ปกคลุมร่างกายเรียกว่า ไคติน (Chitin) และโปรตีน ซึ่งสามารถช่วยลด การสูญเสียน้ำจากร่างกาย ปกป้องร่างกายจากศัตรูอื่นๆ สร้างสมดุลแก่กล้ามเนื้อ และยังจำกัดรูปร่างขนาดของแมลงจึงทำให้แมลงต้องอาศัยกระบวนการลอกคราบ เพื่อเพิ่มขนาดของลำตัวและเปลี่ยนรูปร่าง -ไฟลั่มอาโทรโปด้า ประกอบด้วยคลาสต่างๆ ดังนี้; Centipedes and Millipedes (ตะขาบ ตะเข็บ), Arachnids (Spiders), Crustaceans(กุ้ง ปู), Insects

พื้นที่บนลำตัวแมลงมีชื่อเรียกต่างกันดังนี้ เทอร์กัม (tergum) คือพื้นที่ด้านบนหรือด้านสันหลังของลำตัว โนตัม (notum) คือพื้นที่บริเวณสันหลังอกด้านบน สเตอร์นัม (sternum) คือพื้นที่ด้านล่างลำตัว พลูรอน (pleuron) คือพื้นที่ด้านข้างลำตัว ลำตัวแมลงแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว(head) ส่วนอก(thorax) และส่วนท้อง(abdomen)

The Insect Body head thorax abdomen

1. ส่วนหัว(Head) ตำแหน่งการวางของหัวขึ้นอยู่กับตำแหน่งของปาก - หัวงุ้ม (Hypognathous) เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ และแมลงที่กินพืช โดยที่ปากตั้งฉากกับลำตัว

- หัวเชิด (Prognathous) เช่น ด้วง และแมลงที่เป็นตัวห้ำ โดยที่ปากยื่นในทิศทางขนานกับตัว

- หัวงอ (Opisthognathous) เช่น มวน เพลี้ย และแมลงที่มีปากดูดกิน ส่วนปากงอลงด้านล่าง ปลายชี้ไปท้ายลำตัว

ส่วนหัวประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ดังนี้ ตา ทำหน้าที่รับภาพ มีสองชนิดคือ ตารวม(compound eyes)และตาเดี่ยว(ocellus)

-หนวด(antenna) มีหนึ่งคู่ อยู่ใต้ตารวม

-สันกะโหลก(Vertex) เป็นพื้นที่เหนือตารวม -หน้า(Frons) อยู่ระหว่างตัว Y หัวกลับ -ฐานริมฝีปากบน(Clypeus) ถัดลงจากหน้าลงมา Vertex Coronal suture Frontal sutures Frons Clypeus

-ปาก(mouthparts) ประกอบด้วย ริมฝีปากบน(labrum) กราม(mandible) ฟัน(maxilla) และริมฝีปากล่าง(labium)

2. ส่วนอก (thorax) ประกอบด้วยอกสามปล้อง ซึ่งเป็นที่ตั้งของขาแต่ละคู่ และปีก

3. ส่วนท้อง(abdomen) ถูกแบ่งออกเป็นปล้องๆ โดยประกอบด้วย ขาเทียม(prolegs) เหงือก(gill) แพนหาง(cerci) สไตไล(styli) คอร์นิเคิล(cornicle) รูหายใจspiracles อวัยวะเพศ(genitalia) และอวัยวะวางไข่(ovipositor)

prolegs