LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
SERMASCH LTD. Course code : MN:CK002
Low Power Laser For PT รศ.สมชาย รัตนทองคำ.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
เลเซอร์ ( Laser).
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
การเปลี่ยนระดับพลังงาน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
(Holographic Versatile Disc )
Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
( wavelength division mux)
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
Liquid Crystal Display (LCD)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ความหมายและชนิดของคลื่น
Plasma display นางสาวอัจฉรี สุขผ่อง รหัส เทคโนโลยีสารสนเทศ ปี 4.
Touch Screen.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
เตาไฟฟ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
การประยุกต์ 1) ด้านการ สื่อสาร 2) ด้าน วิทยาศาสตร์ - ฟิสิกส์ - ทิศทางแน่อน - เป็นลำขนาน - มีขีด ความสามารถ - เคมี - ชีววิทยา ส่งข่าวสาร ได้สูง.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
1) Real Time holographic
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
Computer graphic.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
863封面 ทองคำ เขียว.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation

ลักษณะของเลเซอร์ 1. มีความถี่ เดียว 2. มี เฟสและทิศทางเดียวกัน (monochromaticity) 2. มี เฟสและทิศทางเดียวกัน (Coherent light) 3. มีความเข้มสูง (High intensity or brightness)

5. สามารถที่ จะรวมลำ แสงให้ เป็น จุดเล็กได้ (Focusing capability) 4. มีพลังงานสูง (High peak power) 5. สามารถที่ จะรวมลำ แสงให้ เป็น จุดเล็กได้ (Focusing capability)

องค์ประกอบของระบบเลเซอร์ โดย ทั่วไป 1. สารเลเซอร์ มีคุณสมบัติ พิเศษ ที่สามาถทำ ให้ เกิดประชากรผกผัน (Population Inversion ขึ้น ภายในเนื้อสาร 2. ระบบจ่ายกำลัง (Power Supply) ทำหน้า ที่ จ่ายกำลังทางไฟ ฟ้าที่ ศักดา สูง เพื่อไปทำการกระตุ้นสาร เลเซอร์หรือ เลเซอร์ มีเดียม ให้เกิดมี ประชากรผกผัน ขึ้น

3. ออฟทิคัลเรโซเนเตอร์ (Optical resonator) ระบบออฟทิคัลเรโซเนเตอร์ประกอบ ด้วยกระจกเคลือบได อิเล็กตริกหลายๆ ชั้น ปิดหัวและปิดท้าย เลเซอร์ มีเดียม กระจก เหล่านี้ จะสมบัติ ในการะท้อน ดั ง นี้ R1 = 100% R2 = 65% - 98%

หลักการทำงาน

1. การแผ่รังสี โดยปกติ(Spontaneous Emission) เมื่อ อิเลกตรอนได้รับพลังงาน ที่ เหมาะสมก็จะ ขึ้นไปอยู่บน ระดับชั้น ที่มีพลังงานสูง กว่า ซึ่ง ไม่ เสถียร หลังจาก นั้นสักระยะ หนึ่ง จาก นั้นสัก ระยะ หนึ่ง อิ เลกตรอนก็จะกลับสู่ระดับ ชั้น ปกติ ที่เคยอยู่เดิมพร้อมกับปลดปล่อยพลังงานที่ รับไว้ ออกมาในรูปของแสง E = hn ขบวนการปลอดปล่อย นี้ เรียก ว่า Spontaneous Emission

2. การแผ่รังสีจากการกระตุ้น (Stimulated Emission) แทน ที่จะรอให้ อิเลกตรอนกลับสู่สภาวะปกติ เอง นั้น การกระตุ้นซ้ำ เข้า ไปอีก ครั้ง หนึ่ง ก็สามารถ ที่ จะทำ ให้ อิเลกตรอนกลับสู่ สภาวะปกติ ได้เช่นกันซึ่ง พลังงานที่ ปล่อยออกมาก็จะเป็นผลรวมของ ทั้งสองส่วนคือ ส่วนของตัวกระตุ้น และ ส่วนที่ อิเลกตรอนปลด ปล่อยออกมา

ข้อดีของ Stimulated Emission คือพลังงาน ที่ปลดปล่อยออกมาในรูปแสง นั้นจะ มีเฟสเดียวกัน มีทิศทางเดียวกัน ความ ถี่เดียวกัน (ทำไม?)

12.1.2 ประเภทของเลเซอร์ โซลิดสเตทเลเซอร์ (Solid State Laser) 12.1.2 ประเภทของเลเซอร์ 1 จัดแบ่งประเภทของเลเซอร์ตาม สถานะ ของสารเลเซอร์ โซลิดสเตทเลเซอร์ (Solid State Laser) เลเซอร์ เหลว (Liquid Laser) แก๊สเลเซอร์ (Gas Lasers)

2. การจัดแบ่งประเภทของเลเซอร์ตาม สภาวะของสารเลเซอร์ 2. การจัดแบ่งประเภทของเลเซอร์ตาม สภาวะของสารเลเซอร์ อะตอมมิคเลเซอร์ (Atomic Laser) โมเลคคูลาร์ เลเซอร์ (Molecular Laser) ไอออนเลเซอร์ (Ion Laser)

3. การจัดแบ่งประเภทของเลเซอร์ตาม การรับประทาน ได้ (edible) และรับประทานไม่ไ ด้ (non-edible) ของสารเลเซอร์ ประเภทรับประทานได้ (Edible Laser) ประเภทรับประทานไม่ ได้ (Non edible Laser)

Holography เป็นการ บัน ทึก ภาพทั้งแอมพลิจูด และเฟส โดยใช้แสงอาพันธ์ (coherent light) ที่ มีความถี่ เดียว (Monochromticity) และเมื่อนำฟิลม์ที่ ได้มาฉายด้วย แสงแบบเดิมก็จะได้ภาพ 3 มิติ เกิด ขึ้น

1. การ บันทึก ภ าพ เป็นการ บันทึกการแทรกสอด ที่ เกิดจาก - ลำ แสง อ้างอิง (Reference beam) - ลำ แสงวัตถุ (Object beam) ซึ่ง จะได้ภาพลักษณะที่ เป็นแถบการแทรกสอดเชิงซ้อน (Complex interference pattern)

2. การสร้าง ภาพ ใช้ลำ แสงชนิดและทิศทางเดียวกันกับตอนบันทึกภาพส่องไปยังแผ่นฟิลม์ ก็จะได้ภาพ 3 มิติเกิดขึ้น ลำ แสงที่ ส่องไปนี้ เรียกว่า ลำ แสง สร้าง (reconstruction beam) ภาพที่ เกิด ขึ้นจะมี 2 แบบ ภาพจริง(ใช้ฉากรับได้) และภาพเสมือน (เกิด ขึ้น ณ ตำ แหน่ง ที่วางวัตถุไว้)

Holography Interferometry 1. Real time holographic Interferometry 2. Double exposure holographic Interferometry 3. Time average holographic Interferometry ประโยชน์ ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น ตรวจสอบความเรียบผิว และ สมบัติของวัสดุภายใต้การ สั่น สะเทือน ที่ความถี่ สูง