บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบอนุภาค.
เมื่อนักคณิตศาสตร์เขียน 4! เครื่องหมายตกใจ
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
กาแล็กซีและเอกภพ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 18 Quarks, Leptons & Big Bang 1. การจำ แนกอนุภาคโดยใช้ spin
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
การระเบิด Explosions.
5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan.
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
Energy flow of organis m. ความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในระบบ นิเวศที่มีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ และมักเริ่มต้นด้วย ผู้ผลิต.
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
4.5 Gamma ray log gamma ray log เป็นการวัดค่ากัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นในธรรมชาติในชั้นหิน ในหินตะกอน ค่าที่อ่านได้จะสะท้อนถึงปริมาณของหินดินดานในชั้นหิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส 1. การค้นพบนิวเคลียส 2. คุณสมบัติของนิวเคลียส 3. การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี 4. การสลายตัวให้อนุภาคแอลฟา 5. การสลายตัวให้อนุภาคบีตา 6. การคำนวณอายุวัตถุ โบราณโดยใช้สารกัมมันตรังสี 7. การวัดปริมาณการแผ่รังสี

การค้นพบนิวเคลียส 1897 J.J. Thompsom ค้นพบ อิเลกตรอน 1911 E. Rutherford สรุปจาการทดลอง ว่า ประจุบวกของอะตอมจะรวมอยู่ตรงกลางและในส่วนที่เรียกว่า นิวเคลียส ซึ่งเป็น แหล่งมวลส่วนใหญ่ของอะตอม

2. คุณสมบัติของนิวเคลียส นิวเคลียสประกอบ ด้วย - นิวตรอน (Neutron) - โปรตอน (Proton) ทั้งสองส่วน นี้รวมกันเรียก ว่า นิวคลีออน (Nucleon)

- สัญญลักษณ์แสดงนิวเคลียส เมื่อ X เป็นสัญญลักษณ์ของธาตุ Z เลขอะตอมหรือจำนวนโปรตอน A เลขมวล = Z+N = จำนวนนิวคลีออน N จำนวนนิวตรอน

- ไอโซโทป (Isotope) เป็นธาตุ เดียวกัน ที่มีค่า Z เท่ากัน แต่ N ต่างกัน เช่น

- ขนาดของนิวเคลียส (R รัศมีของทรงกลม) เมื่อ A คือ เลขมวล Ro = 1.2 fm = 1.2 x 10-15 m.

- หน่วยของมวลอะตอม (atomic mass unit) 1 u = 1.661 x 10-27 kg. เช่น 238 U มีมวลอะตอม = 238 U = 238 x 1.661 x 10-27 = 3.95 x 10-25 kg.

ตัวอย่างเบื้องต้น 1) จงหาจำนวนนิวตรอนของธาตุ ต่อไป นี้ 2) จงหาขนาดนิวเคลียสของธาตุ ต่อไป นี้ 3) จงหามวลเป็นกิโลกรัมของธาตุ ต่อไป นี้

3. การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี เป็นการสลายตัวของนิวเคลียส ที่ไม่เสถียร ไปเป็นนิวเคลียสอื่นที่เสถียรกว่า ซึ่งขบวนการสลายตัวนี้จะเกี่ยวข้องกับการให้อนุภาคออกมา เช่น - อนุภาค แอลฟา - อนุภาค บีตา

4. การสลายตัวให้อนุภาคแอลฟา สมการการสลายตัว

เวลาเขียนสมการนิวเคลียร์ต้องคำนึงถึง 1) ผลรวมเลขมวล(A) ด้านซ้าย เท่ากับด้านขวา 2) ผลรวมเลขอะตอม(Z) ด้านซ้าย เท่ากับด้านขวา

5. การสลายตัวให้อนุภาคบีตา สมการ การสลายตัว

เมื่อ : Neutrino : Antineutrino

สรุปสัญลักษณ์ โปรตอน นิวตรอน รังสีแอลฟา รังสี บีตา นิวตริโน

ตัวอย่างสมการนิวเคลียร์และการสลายตัว 7) จงหา ว่า X คืออะไร ในสมการต่อไปนี้

ตัวอย่างสมการนิวเคลียร์และการสลายตัว สลายตัวโดยให้อนุภาคแอลฟา 1 ครั้ง และ อนุภาคบีตา4 ครั้ง จงหาว่า ธาตุนี้สลายตัวเป็นธาตุชนิดใหม่คืออะไร

- สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี - สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี (1)

l = disintegration constant = จำนวนนิวเคลียสที่เหลือ N = จำนวนนิวเคลียสที่เริ่มต้น No = อัตราการสลายตัว (curie) R

(2)

- ครึ่งชีวิต ช่วงเวลาที่ทำให้สารกัมมันตรังสีสลายตัวเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม นั่นคือ

ตัวอย่างเกี่ยวกับการสลายตัวและครึ่งชีวิต 4) ธาตุ มีครึ่งชีวิต 16 วัน มีครึ่งชีวิต 16 วัน ถ้ามี สารนี้ 10 กรัม ทิ้งไว้ 48 วันจะเหลือธาตุนี้อยู่เท่าไร 5) ธาตุ มีค่าครึ่งชีวิต 125 ปี จงหาค่าคงตัว ของธาตุนี้

6) ธาตุ เมื่อทิ้งไว้ 468 วัน จะเหลือสารอยู่ประมาณ ของ จำนวนเดิม จงหาครึ่งชีวิตของสารนี้

6) การคำนวณอายุวัตถุโบราณโดยใช้สารกัมมันตรังสี - ใช้หลักของครึ่งชีวิต - ในสิ่งไม่มีชีวิตมักจะตรวจสอบ - ในสิ่งมีชีวิต เราจะวัด ? ทำ ไม

การคำนวณ ให้ No เป็นจำนวนสารกัมมันตรังสี ตอนเริ่มต้น N เป็นจำนวนสารกัมมันตรังสี ที่เหลืออยู่ NF เป็นสาร ที่เกิดจากการสลายตัวของ สารกัมมันตรังสี โดยที่ N0 =N + NF

จาก แทน ค่า และ จะได้

ตัวอย่างเกี่ยวกับการหาอายุวัตถุ โบราณ 9) ปริมาณ ในกระดูกสัตว์ ชนิดหนึ่งมีเพียง ของปริมาณ ที่พบในสัตว์ชนิดเดียวกัน ที่ เพิ่งจะ เสียชีวิตถ้าครึ่งชีวิต ของ เท่ากับ 5770 ปี กระดูกชิ้นนี้จะมีอายุ เท่า ไร

10) จากการทดสอบปริมาณธาตุ ในแร่ชนิดหนึ่งพบ ว่าอัตราส่วน ระหว่าง กับ เป็น 7:3 โดย กำหนดให้ ครึ่งชีวิตของ คือ 4.5 x 109 y จงคำนวณหาอายุของหินชนิดนี้

7. การวัดปริมาณการแผ่รังสี * curie (Ci) บอกความแรง disintegration per second 1 Ci = 3.7 x 1010 หรือเท่ากับ ค่าที่วัดได้จากธาตุ เรเดียม (Ra) หนัก 1 กรัม

* Roentgen (R) บอกความ สามารถในการทำให้ เกิดการ แตกตัวเป็น ไอออน 1R สามารถทำ ให้ เกิด 1.6 x 1012 ion pairs ของอากาศ 1 กรัม

* rad (radiation absorbed dose) บอก ถึงปริมาณการถูกดูดกลืน กัมมันตภาพรังสี มีหน่วยเป็น พลังงานต่อมวลของวัตถุ 1 rad = 10 m J/kg.

* rem (roentgen equivalent in man) แสดงถึงผลกระทบของปริมาณ รังสีต่อมนุษย์ ได้มาจาก ปริมาณ รังสี (rad) คูณกับ ค่า Relative Biological Effectiveness (RBE)