พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
Time-Dependent Phenomena of Excited State
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
Ground State & Excited State
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
1st Law of Thermodynamics
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
หินแปร (Metamorphic rocks)
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
การสร้างแนวคิดของผลิตภัณฑ์ Concept Generations
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
บทที่ 5 Alkyl Halides.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
เศษส่วน.
กรณีศึกษา warfarin.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
Position Isomerism Functional Isomerism Geometric Isomer
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
พันธะเคมี.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา เคมี ม.5 ว30223 พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา ครูธนพล ถัดทะพงษ์ โรงเรียนสากเหล็กวิทยา

พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี พลังงานเคมี เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงอยู่ในโครงสร้างของสาร การเกิดปฏิกิริยาจะมีพลังงานที่เกี่ยวข้อง 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะเดิมในสารตั้งต้น ขั้นที่ 2 ขั้นคายพลังงานเมื่อสร้างพันธะใหม่ในผลิตภัณฑ์

ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic Reaction) ปฏิกิริยาเคมีที่มีการดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะของสารตั้งต้น มากกว่า พลังงานที่คายออกมาเมื่อสร้างพันธะใหม่ โดยปฏิกิริยาดูดความร้อน สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์

สำหรับสมการแสดงปฏิกิริยาดูดความร้อนสามมารถเขียนได้ 2 แบบ คือ สารตั้งต้น + พลังงาน ผลิตภัณฑ์ หรือ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ DE = (+) ผลจากปฏิกิริยาดูดความ คือ สิ่งแวดล้อมจะมีพลังงานลดลง หรืออุณหภูมิลดลง เมื่อนำมือมาสัมผัสจะรู้สึกเย็น

ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction) ปฏิกิริยาเคมีที่มีการดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะของสารตั้งต้น น้อยกว่า พลังงานที่คายออกมาเมื่อสร้างพันธะใหม่ โดยปฏิกิริยาคายความร้อน สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์

สำหรับสมการแสดงปฏิกิริยาดูดความร้อนสามมารถเขียนได้ 2 แบบ คือ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์+ พลังงาน หรือ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ DE = (-) ผลจากปฏิกิริยาคายความ คือ สิ่งแวดล้อมจะมีพลังงานเพิ่มขึ้น หรืออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เมื่อนำมือมาสัมผัสจะรู้สึกร้อน

พิจารณาแผนภาพต่อไปนี้เพื่อตอบคำถาม (kJ/mol) ? แผนภาพดังกล่าวเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อน ? พลังงานสารตั้งต้นมีค่าเท่าไร ? พลังงานผลิตภัณฑ์มีค่าเท่าไร ? พลังงานสารเชิงซ้อนกัมมันต์มีค่าเท่าไร ? ปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อนเท่าไร

พิจารณาแผนภาพต่อไปนี้เพื่อตอบคำถาม (kJ/mol) ? แผนภาพดังกล่าวเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อน ? พลังงานสารตั้งต้นมีค่าเท่าไร ? พลังงานผลิตภัณฑ์มีค่าเท่าไร ? พลังงานสารเชิงซ้อนกัมมันต์มีค่าเท่าไร ? ปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อนเท่าไร

พิจารณาสมการต่อไปนี้แล้วระบุว่าเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อน 1) N2(g) + O2(g) + พลังงาน 2NO(g) 2) CO(g) + NO2(g) CO2 + NO(g) + พลังงาน 3) O3(g) + O(g) 2O2(g) DE = -392 kJ 4) O(g) + H2O(g) 2OH (g) DE = +72 kJ

พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation Energy, Ea) พลังงานน้อยที่สุดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีค่าเท่ากับผลต่างพลังงานของสารเชิมซ้อนกัมมันต์และสารตั้งต้น

ในปฏิกิริยาเคมีที่มีพลังงานก่อกัมมันต์น้อย ปฏิกิริยาจะเกิดได้เร็ว เนื่องจากสารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ง่าย

จากแผนภาพการเกิดปฏิกิริยาที่กำหนดให้ ปฏิกิริยาใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่า