อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สีผสมอาหาร Group’s Emblem.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สารเมลามีน.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ตระกูลเบอร์รี่ โดย ทิพย์ธิญากร.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
อาหารเพื่อสุขภาพ สำหรับบุคคลที่มีทวารเทียม
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กินตามกรุ๊ปเลือด.
สารปรุงแต่งอาหาร.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
กำมะถัน (Sulfur).
1. นาย สุทธิเกียรติ์ เดชแฟง ม.5/3 เลขที่ 4
อาหารไทย.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร

ประโยชน์หรือโทษภัย

1. แหล่ง / ประเภท / ชนิดของอาหาร ประเภทสารปรุงแต่งอาหารและสารปนเปื้อน สารปรุงแต่งอาหาร คือ สารที่ถูกใส่ลงในอาหารเพื่อปรุงแต่งสี กลิ่น รส สารปนเปื้อน คือ สารที่ปะปนอาหารอย่างไม่เจตนา ปนเปื้อนโดยธรรมชาติ เช่น สารพิษ โลหะหนัก เป็นต้น

ชนิดของสารปรุงแต่งอาหาร สารปรุงแต่งอาหาร เช่น สารแต่งสี สารกันบูด สารให้ความหวาน สารชูรส สารกันหืน สารบอแรกซ์ สารฟอกสี สารที่ทำให้เนื้อเปื่อยนุ่ม ดินประสิว เป็นต้น แหล่งที่มาของสารปรุงแต่งอาหาร สารปรุงแต่งสี สีอินทรีย์ ได้จากผงถ่านที่ได้จากการเผากาบมะพร้าว สีที่ได้จากธรรมชาติ อาจมาจากพืชหรือสัตว์

สารแต่งรสหวาน น้ำตาลเทียม เป็นสารอินทรีย์ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมา มีความหวานมากกว่าน้ำตาลทรายหลายเท่า ตัวอย่างสารที่ให้ความหวาน เช่น - แซ็กคาริน (Saccharin) หรือขันฑสกร  มีความหวานมากกว่าน้ำตาลซูโครส 300 เท่า  เช่น น้ำอัดลม ลูกกวาด - อะซีซัลเฟม เค  (Acesulfame  K) หรือ Acesulfame Potassium มีความหวานมากกว่าน้ำตาลซูโครสประมาณ 200 เท่า - แอสปาร์เทม (Aspartame)   มีความหวานมากกว่าน้ำตาลซูโครสประมาณ 200 เท่า  เช่น อีควล นุตราสวีท

ผงชูรส >> ผงชูรส ผงโมโนโซเดียมกลูตาเมต ทำจากแบคทีเรีย ที่หมักแป้งสำปะหลัง องค์ประกอบหลักของผงชูรส คือ กรดอะมิโน ที่มีชื่อว่า "กรดกลูตามิก" หรือ "กลูตาเมต" ซึ่งเป็นส่วนประกอบตามธรรม-ชาติที่พบได้ในอาหารแทบทุกชนิด ปริมาณของผงชูรสที่อนุญาตให้ใส่ในอาหาร การใช้ผงชูรสอย่างเหมาะสมจะอยู่ในระดับ เดียวกับปริมาณกลูตาเมตในอาหารธรรมชาติ คือ 0.1 - 0.8% ของอาหาร หรืออาจกล่าวได้ ว่าประมาณผงชูรส 1 ช้อนชาเหมาะที่จะใช้ใน การปรุงอาหารที่เป็นเนื้อสัตว์ 1 กิโลกรัม หรือ ปรุงอาหารจำพวกผักและซุปหรือแกงจืด 1 หม้อ สำหรับเสิร์ฟ 4 - 6 ที่

2.อันตราย / ความเสี่ยงต่อผู้บริโภค - สารปรุงแต่งอาหารนั้น ได้ใช้เพื่อเพิ่มความน่ารับประทาน ทั้งในรูปสี กลิ่น หรือต่างๆกันไป แต่ก็ไม่ได้มีคุณค่าทางอาหารแต่อย่างใด ดังนั้นหากได้รับมากไปอาจจะมีโทษต่อร่างกายเช่นกัน เช่น.... - สารบอแรกซ์ จะเป็นอันตรายต่อเซลล์ โดยจะไปรวมกับโปรตีนหรือไขมัน ทำให้เซลล์ไม่ทำงานและตายไปในที่สุด - สารเลนดอล เป็นยาที่มักให้สัตว์กิน เพื่อเร่งให้โตเร็วและนุ่ม รวมทั้งยังส่งผลที่เป็นพิษต่อผู้บริโภค -

- สารกันบูด สารที่นิยมใช้เป็นสารกันบูด  ได้แก่ กรดซาลิวาลิก  กรดบอริก และโซเดียมเบนโซเอตมีกรดเป็นอันตรายต่างๆ มากมายทำให้ผู้ที่รับประทานเข้าไปมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หายใจขัด ท้องเสีย เม็ดเลือดแดงหมดสภาพ และอาจตายได้ - ไนไตร์ท อาหารดองเค็ม อาหารปิ้ง ย่าง และอาหารที่ถนอมด้วยเกลือ ไนเตรท-ไนไตรต์ หรือที่รู้จักกันในนาม "ดินประสิว" หากรับประทานเข้าไปจะทำให้เสี่ยงต่อเกิดมะเร็งหลอดอาหารและมะเร็งกระเพาะอาหาร - สารให้ความหวาน หากรับประทานในปริมาณที่มากเกินไปจะทำให้เกิดโรคสมองอักเสบและต่อมไร้ท่อผิดปกติ

อันตรายของสีสังเคราะห์ผสมอาหาร !! • ตะกั่ว ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ และโลหิตจาง อาการต่อมาคือเป็นอัมพาตตามแขนขา สมองไม่ปกติ ชักกระตุก เพ้อคลั่ง และหมดสติ • สารหนู ทำอันตรายต่อระบบส่วนกลาง ระบบทางเดินอาหาร ทำให้ตับอักเสบ และมีอันตรายต่อวงจรโลหิตที่ไปเลี้ยงหัวใจ อาจทำให้หัวใจวายได้

3. แนวทางป้องกัน / แก้ไข • ไม่ควรทานอาหารซ้ำซากจำเจ • เราควรเลือกรับประทานอาหารและหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสีสันจัดจนเกินไป • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีผงชูรสมาก หากจำเป็นต้องบริโภคอาหารที่มีสารกันบูด ก็ควรคำนึงถึงผลิตภัณฑ์ และองค์ประกอบเป็นสำคัญ ไม่ควรทานลูกชิ้นที่กรอบเพราะอาจมีสารบอแรกซ์เป็นส่วนผสม

The end