management of osteoporosis Holistic approach in management of osteoporosis รศ.นพ. สุกรี สุนทราภา รศ.นพ. ศุภศิลป์ สุนทราภา รศ.นพ. ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ผศ.นพ.เฉลิมชัย อภิญญานุรักษ์ ผศ. ณิชานันทน์ ปัญญาเอก นางมลฤดี ประสิทธิ์
Humanized Health Care
Humanized Health Care
กระดูกพรุน
กระดูกปกติ กระดูกพรุน
กระดูกที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถกลับคืนเหมือนเดิมได้ กระดูกเมื่ออายุ 33 ปี กระดูกที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถกลับคืนเหมือนเดิมได้ กระดูกเมื่ออายุ 55 ปี กระดูกเมื่ออายุ 72 ปี Whitehead et al, An Atlas of the Menopause, 1993
กระดูกพรุน... ภัยเงียบใกล้ตัวสตรีวัยทอง กระดูกพรุน... ภัยเงียบใกล้ตัวสตรีวัยทอง
การเปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นของกระดูก ตัวกัดกร่อนกระดูก ตัวเสริมสร้างกระดูก
อายุ การเปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นของกระดูก กระดูกพรุน 0.5%/ปี 5%/ปี หมด ประจำ เดือน 0.5%/ปี 5%/ปี 0.5%/ปี เพิ่มขึ้น รวดเร็ว ลดลงช้าๆ ลดลงรวดเร็ว ลดลงช้าๆ อายุ
บุคคลที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกพรุน ๏ สตรีที่หมดประจำเดือนเร็วกว่าปกติ ๏ สตรีภายหลังผ่าตัดรังไข่ออก ๏ สตรีที่มีรูปร่างผอม ๏ ผู้ที่มีประวัติครอบครัวที่มีโรคกระดูกพรุน ๏ ได้รับอาหารที่มีแคลเซี่ยมต่ำ ๏ ดื่มสุรา ดื่มกาแฟ หรือสูบบุหรี่จัด ๏ ไม่ชอบออกกำลังกาย ๏ ได้รับยากลุ่ม สเตียรอยด์ ยากันชัก ยาธัยรอยด์
อาหาร
ออกกำลังกาย
ไวตามินดี
สรุปผลการศึกษาวิตามินดีของสตรีขอนแก่น ความชุกของการขาดวิตามินดี สูงสุดคือสตรีก่อนหมดประจำเดือน (77.98%) อันดับสองคือสตรีสูงอายุในเมือง (67.4%) อันดับสามคือสตรีวัยทอง (60.0%) ต่ำที่สุดคือสตรีสูงอายุในชนบท (17.4%)
ใช้หรือไม่ใช้ฮอร์โมน
สะโพกหักลง ได้ประมาณร้อยละ 50 ประโยชน์ของฮอร์โมน ป้องกันโรคกระดูกพรุน ลดอัตราการเกิดกระดูก สะโพกหักลง ได้ประมาณร้อยละ 50
ขอขอบคุณ ที่ให้ความสนใจ
อารมณ์
4. อบายมุข เคล็ดไม่ลับในการดูแลสตรีวัยทอง ควรงดสูบบุหรี่ งดกาแฟ งดดื่มเหล้า-เบียร์
เคล็ดไม่ลับในการดูแลสตรีวัยทอง 6. โอสถ
ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
หยุดคิดสักนิด
คิดถึงข้อดี-ข้อเสีย เสียก่อน เมื่อจะรับประทานยา คิดถึงข้อดี-ข้อเสีย เสียก่อน
รศ.น.พ.สุกรี สุนทราภา