Topic Basic science of calcium Basic science of vitamin D Application and osteoporotic treatment
CALCIUM แคลเซียมถือเป็นอาหารเสริม ดังนั้นจึงไม่ถูกควบคุมโดย FDA ผลของแคลเซียมต่อกระดูก
Premenopause: หากรับประทานแคลเซียมร่วมกับการ ออกกำลังกาย จะทำให้ค่า BMD ไม่ลดลง หรือลดลงเพียงเล็กน้อย มีการทดลองให้แคลเซียม 1.5 กรัม 4 ปี สามารถลดการสูญเสียกระดูกที่ กระดูก forearm ได้เล็กน้อย (McKenna 1985)
Early postmenopause: กรณีนี้การขาด estrogen เป็นปัญหาสำคัญ แคลเซียมมักจะไม่ค่อยมีผล (Dawson-Hughes 1990) การให้ Ca 1 หรือ 2 กรัม ใน peri- and postmenopausal women สามารถลดการสูญเสียกระดูกแต่ไม่สามารถป้องกัน (Elders 1991 , Prince 1991)
Postmenopause อายุน้อยกว่า 70 ปี การให้ยา Ca เสริมเข้าไปอีก 1 กรัม เพิ่มจากที่ได้จากอาหาร สามารถลดการสูญเสียมวลกระดูกได้อย่างมีนัยสำคัญ จากการ ติดตามผล 4 ปี (Devine 1997) สามารถลดอุบัติการเกิดกระดูกหักใหม่ (Reid 1995) ส่วนใหญ่มีผลต่อ cortical bone
Postmenopause อายุน้อยกว่า 70 ปี (ต่อ) สำหรับ lumbar spine แคลเซียม สามารถลดการลดลงของมวลกระดูกได้เช่นกัน เมื่อให้แคลเซียมขนาด 2 กรัม สามารถลดการ สูญเสียกระดูกจาก 3.5% (control) ไปเป็น 0.7% (Reid 1993)
Late postmenopause และอายุมาก กรณีนี้การเสริมแคลเซียมจะได้ผลอย่างมาก พบว่าสามารถลดอัตราการเกิดกระดูกหักใหม่ได้ โดยเฉพาะ nonvertebral fracture (Chapuy 1994) สามารถลดอัตราการสูญเสียกระดูกเหลือเพียง 0.8% ต่อปี (ปกติลดลงประมาณ 2% ต่อปี) ในสตรีหลังหมดประจำ เดือนที่อายุ <80 ปี
Late postmenopause และอายุมาก (ต่อ) ในสตรีที่อายุ >80 ปี แคลเซียมสามารถลดอัตราการสูญเสียกระดูกได้ถึง 2-4% (Cumming 1990) การเสริมแคลเซียมและออกกำลังกายจะช่วยได้อย่าง มาก (Prince 1995)
In the treatment of osteoporosis ปัจจุบันนี้ถือว่าแคลเซียมเป็นยาที่ต้องให้ในทุกกรณีของการรักษาโรคกระดูกพรุน จากหลายการศึกษาพบว่าแคลเซียมสามารถลดการสลายกระดูกได้ ในกรณีที่รักษาโดย fluoride หากให้ร่วมกับ แคลเซียมสามารถป้องกันความบกพร่องของ mineralization
Vitamin D and Derivatives
Indication for Vitamin D Supplementation 1. ผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคกระดูกพรุน 2. ผู้ป่วยสูงอายุทั่วไป ให้เพื่อป้องกันโรค กระดูกพรุน ยาไวตามินดีถือเป็นยาเสริมที่ให้ร่วมกับยาตัวอื่นๆ เพื่อรักษาโรคกระดูกพรุน การใช้ vit. D อย่างเดียวยังไม่เป็นที่ยอมรับ
ขนาดของวิตามินดีที่ใช้รักษา วิตามินดีที่นิยมใช้คือ Vitamin D2 or D3, alfacalcidol (1a(OH)D) และ calcitriol Dosage of native vitamin D 400-1,200 IU (10-30 mg) ต่อวัน Dosage of alfacalcidol 0.5-1 mg/day Dosage of calcitriol 0.25-0.5 mg/day
Clinical Study of Vitamin D Supplementation วิตามินดีร่วมกับแคลเซียมสามารถลดความเสี่ยง ต่อ hip fr.ได้ถึง 37-55% (Ranstan, Chapuy 1994;Heikinheimo, Dawson-Hughes 1997) ขนาดของ vit.D 400-800 IU/d สามารถคงระดับ ของ 25(OH)D และ PTH ให้อยู่ในระดับปกติและเพิ่ม BMD ของ spine, hip ได้เล็กน้อย หากให้ vit.D 800 IU ร่วมกับ Ca. 1-2 gm. สามารถลด hip fr. 40-50% (Chapuy 1992)
การตอบสนองต่อ vit.D จะมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ vitamin D receptor (VDR) gene ในคนไทยพบว่า VDR gene เป็นชนิด bb ประมาณ 54.8%, ชนิด Bb 42%, ชนิด BB 3.2% ชนิด bb เมื่อได้รับยา vit. D and Ca. สามารถลด bone resorption marker และเพิ่ม bone formation marker ภายใน 4 สัปดาห์ และ เพิ่ม BMD ของ spine 9+3.4% (p<.05) ใน 1 ปี (บุญส่ง 1998)