โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ Ambulatory care โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่
การให้บริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยยื่นบัตร พยาบาลซักประวัติ - สงสัย ADR เภสัชกรประเมินอาการ ไม่มี ADR พบแพทย์ -ไม่มี DRPs Dispensing - DRPs counseling case ที่เลือกไว้ ADR, DRP ที่พบระหว่าง dispensing ติดตาม DRP, ADR
เก็บมาฝากจาก counseling clinic Case 1 ผู้ป่วยชายไทย อายุ 16 ปี เป็นนักเรียน กินยาล้างห้องน้ำ กิน DZP 20 เม็ด 12 20 21 D/C Rx : Fluoxetine(20) 1xOD DZP(2) 1xhs
เภสัชกรผู้จ่ายยา Fluoxetine ลืมบอกอะไรผู้ป่วยหรือไม่ ? Diazepam ขนาดรักษา 5-100 mg/day ผู้ป่วยกินยา 60 mg ดังนั้น ขนาดยาที่ได้ยังไม่เกินขนาดรักษา การดำเนินการ ติดตาม vital sign เภสัชกรผู้จ่ายยา Fluoxetine ลืมบอกอะไรผู้ป่วยหรือไม่ ?
Half life : 2-3 day (in adult) Fluoxetine Half life : 2-3 day (in adult) Peak antidepressant effect : after > 4 weeks ญาติต้องดูแลใกล้ชิดในช่วงที่ยายังไม่ถึง Therapeutic level เพราะผู้ป่วยอาจมีความพยายามฆ่าตัวตายในช่วงนี้
Case 2 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 61 ปี Dx : Major depressive disorder 3 ก.พ. 52 Rx: Fluoxetine(20) 0.5xOD for 6 day then Fluoxetine(20) 1xOD Lorazepam(1) 1xhs + prn insomnia B1-6-12 1x3 3 มี.ค. 52 มาตามนัด อาการเศร้าดีขึ้น แต่มีเดินทื่อๆ มือสั่น ข้อมือเกร็ง
EPS ? คำถาม 1 ทำไมต้อง titrate dose fluoxetine >> เพื่อป้องกัน side effect โดยเฉพาะ GI side effect คำถาม 2 เกิดอะไรขึ้นกับผู้ป่วยรายนี้ EPS ?
Case 3 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 55 ปี การศึกษาระดับปริญญาโท อาชีพข้าราชการบำนาญ Dx : Bipolar disorder วันที่ รายละเอียด ยา ธ.ค. 51 BW 72 kg Ariprprazole(15) 1xOD Clonazepam(0.5) 1x2+2xhs Valproate CR(200) 2x3 Indapamide SR 1xOD Glibenclamide(5) 0.5xOD AMA 1-2 hsprn insomnia
วันที่ รายละเอียด ยา 6 พ.ค. 52 BW 80 kg Risperidone constra 1 A im q 2 wk Valproate CR(500) 1xhs Perphenazine(4) 1xOD Trihexyphenidyl 1x2 Clonazepam(2) 1xhs 20 พ.ค. 52 ปวดตามข้อนิ้ว บวม แดง ร้อน กดบุ๋ม
คำถาม 1. ผู้ป่วยจะบวมจากอะไรได้บ้าง ? : HT >> ผู้ป่วยมีประวัติเป็น HT อยู่แล้ว >> ซักประวัติเพิ่มเติม พบว่าสัปดาห์ที่ผ่านมากินมะขามคลุกบ๊วยทุกวัน
DM nephritis >> มีประวัติเป็นเบาหวาน มานาน >> ส่งตรวจ BUN, Cr Gount >> บวม แดง ร้อน >> ส่งตรวจ uric acid ADR >> Sod . Valproate?
2. ควรจัดการปัญหานี้ต่ออย่างไรดี ส่งต่อโรงพยาบาลฝ่ายกายตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม แต่ ! สิ่งที่สำคัญคือการส่งต่อข้อมูลระหว่างโรงพยาบาล
“ ทำอย่างไรให้เกิดการส่งต่อแบบไร้ตะเข็บ” >> Theme ของ HA forum ในปีนี้ >> Lean & Seamless “ ทำอย่างไรให้เกิดการส่งต่อแบบไร้ตะเข็บ” โครงการรับยาไร้รอยต่อโดยโรงพยาบาลค่ายดารารัศมี และโรงพยาบาลสวนปรุง
โรงพยาบาลค่ายดารารัศมี คัดเลือกผู้ป่วย รับยาให้ผู้ป่วย จ่ายยา เยี่ยมบ้าน ติดตามอาการและเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากยา แจ้งตรวจเมื่อครบ 6 เดือน โรงพยาบาลสวนปรุง จัดยา ให้ข้อมูลการติดตามอาการและเฝ้าระวังอาการ ไม่พึงประสงค์จากยา ประเมินเมื่อผู้ป่วยมา FU
ผู้ป่วยหญิงไทย โสด อายุ 28 ปี Dx: Bipolar disorder 29 พ.ย. 50 BW 61 kg Case 4 ผู้ป่วยหญิงไทย โสด อายุ 28 ปี Dx: Bipolar disorder 29 พ.ย. 50 BW 61 kg Rx: Trifluoperazine(5) 1xhs Trihexyphenidyl(2) 1x2 Sod. Valproate CR(500) 1xhs 15 ก.ค. 51 BW 70 kg (ได้ Rx เดิม) 14 ต.ค. 51 มารดามาพบแพทย์ บอกว่าผู้ป่วย ไม่ค่อยอยากกินยา เพราะกินยาแล้วอ้วน
ADR จาก Sodium valproate ประเด็น >> patient non compliance ขึ้นอยู่กับแต่ละคน ตามบริบทที่แตกต่างกัน จะค้นหาสาเหตุของปัญหาได้จากกระบวนการ “pharmacy counseling” เท่านั้น
Case 5 ผู้ป่วยชายไทย คู่ อายุ 70 ปี ภูมิลำเนา อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง ขาดยาประมาณ 3 สัปดาห์ ญาติให้เหตุผลว่าบ้านอยู่ไกล เดินทางมารับยาลำบาก แก้ปัญหา >> ตรวจสอบรายการยาจากโรงพยาบาลเสริมงาม >> ปรึกษาแพทย์เพื่อขอ refer >> ขอความร่วมมือเภสัชกรรพช. ติดตาม อาการและ ADR
การดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้เกิดการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง ยาทางไปรษณีย์ การให้ตรวจติดตามทุก 6 เดือนที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน CBC ที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน แบบประเมินตนเองและแบบประเมิน Lithium toxic การส่งจดหมายแจ้งติดตาม DRPs ตรงถึงเภสัชกรและพยาบาลจิตเวช การขอความร่วมมือเภสัชกรรพ. ใกล้บ้านเยี่ยมบ้านผู้ป่วย
ความพร้อมของเภสัชกรโรงพยาบาลชุมชนในการให้บริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยจิตเวช
การแก้ไขปัญหา >> การจัดอบรมความรู้เรื่องยาจิตเวช สำหรับเภสัชกรโรงพยาบาลชุมชน >> การให้คำปรึกษาและนิเทศงาน บริบาลเภสัชกรรมสำหรับผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลเครือข่าย
ตัวอย่างการให้บริบาลเภสัชกรรมในผู้ป่วยต่างประเทศ Developing the role of pharmacists as members of community mental health teams: Perspectives of pharmacists and mental health professionals (J. Simon Bell) Providing pharmaceutical schizophrenia care: towards an extended role of the Dutch community pharmacist (C.A.W. Rijcken) Randomized trial of pharmacist interventions to improve depression care and outcomes in primary care (Kam L. Capoccia) Community pharmacy services to optimise the use of medications for mental illness: a systematic review (Simon Bell)
เราได้อะไรจากทั้ง 4 paper บ้าง Pharmacists’ medication counseling and treatment monitoring can improve adherence to antidepressant medication การทำ medication reviews จะช่วยลด inappropriate prescriber Patients’ case managed by pharmacist had significantly better personal adjustment scores than those receiving from nurse, social worker or psychologist
การมี copies of the care plan จะช่วยให้ community pharmacist พบ MRPs ได้ดีกว่า Pharmacists’ intervention can improve mental health care Given the high rates of antidepressant discontinuation during the first three months of treatment, pharmacists have a potentially important role in providing medicines information ข้อจำกัดของเภสัชกรคือ ไม่มี medical history, ไม่ได้ specific training และ pharmacist attitude
เภสัชกรคือผู้ช่วยให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับยาทางกาย (physical illness) ที่เหมาะสม เภสัชกรอยู่จุดสุดท้ายของกระบวนการสั่งยาและเป็น primary health care professional คนสุดท้ายที่ผู้ป่วยจะได้พบก่อนการตัดสินใจใช้ยา Pharmacist are still unaware of the needs of the patient with SZP. Patients do not know what they may expect from community pharmacists. Depression is frequently treated for an inadequate length of time or with insufficient antidepressant dosage