Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.สมบัติ ท้ายเรือคำ ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สาเหตุแห่งความไม่มีคุณภาพ = สาเหตุแห่งความไม่มีคุณภาพ เกิดจากความผิดพลาด เนื่องจากความเข้าใจที่ คลาดเคลื่อนในหลายๆ ประการ ในการทำงานวิจัย
ทำอย่างไร ? ให้งานวิจัยมีคุณภาพ สิ่งที่ควรคำนึง คุณค่า ของงานวิจัย คุณภาพของงานวิจัย
คุณค่าของงานวิจัย การพิจารณาคุณค่าของงานวิจัย การอ้างอิงผลการวิจัย 1 การนำผลการวิจัยไปใช้อย่างกว้างขวาง 2
การพิจารณาคุณภาพของงานวิจัย 1 ความตรงภายใน (Internal validity) 3 2 ความตรงภายนอก (External validity)
คุณภาพของงานวิจัย: ความตรงภายใน งานวิจัยที่มีความตรงภายในสูง หมายถึง งานวิจัยที่ไม่มีตัวแปรเกินหรือ ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous Variable) ผลของความแตกต่างของตัวแปรตาม (Dependent Variable) ที่เกิดขึ้นเป็นผลเนื่องมาจากตัวแปรต้น (Independent Variable) เท่านั้น ผู้วิจัยต้องกำจัด หรือควบคุมตัวแปรเกิน
คุณภาพของงานวิจัย: ความตรงภายใน แหล่งที่ทำให้เกิดตัวแปรเกินในงานวิจัย แหล่งภายนอกหรือ สิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มประชากร วิธีดำเนินการวิจัยหรือวิธีการทดลอง มีเสียงรบกวน หรือมีตัวแปรสอดแทรก (Intervening Variable) เข้ามาโดยไม่ทราบมาก่อน (ภาวะสุขภาพ วิตกกังวล) อายุ เพศ ระดับสติปัญญา ความถนัด เชื้อชาติ บุคลิกภาพ สภาพครอบครัว ความผิดพลาดจาก วิธีดำเนินการ คุณภาพเครื่องมือที่ใช้ และเวลาที่ใช้ทดสอบ
คุณภาพของงานวิจัย: ความตรงภายใน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ที่ได้รับ การสอนโดยวิธีการสอน แบบ 7E และ แบบนิรนัย ตัวแปรต้น: วิธีการสอน 2 วิธี คือ วิธีการสอนแบบ 7E วิธีการสอนแบบนิรนัย ตัวอย่าง งานวิจัย ตัวแปรตาม: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรเกิน: ระดับสติปัญญา เพศ คุณภาพของแบบทดสอบ ฯลฯ ตัวแปรสอดแทรก: ความวิตกกังวล แรงจูงใจ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ฯลฯ
คุณภาพของงานวิจัย: ความตรงภายใน หลักการควบคุมความแปรปรวน (Max Min Con Principle) การ ควบคุม ความ แปรปรวน ความแปรปรวนที่เป็นระบบ (Systematic Variance) ความแปรปรวนที่ไม่เป็นระบบ (Unsystematic Variance)
คุณภาพของงานวิจัย: ความตรงภายใน Max Min Con Principle 1 3 2 ทำให้ ความแปรปรวน ของตัวแปรตามอันเป็นผลเนื่องมากจาก ตัวแปรต้น หรือ ตัวแปรที่สนใจ มีค่ามากที่สุด (Maximize Systematic Variance) ทำให้ความแปรปรวนของตัวแปรตามอันเป็นผลเนื่องมาจากความคลาดเคลื่อนต่าง ๆ มีค่าน้อยที่สุด (Minimize Error Variance) ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรตามอันเป็นผลเนื่องมาจากตัวแปรเกินให้มีค่าต่ำสุด (Control Extraneous Systematic Variance)
คุณภาพของงานวิจัย: ความตรงภายใน จับคู่ สมาชิก ควบคุมสภาพการณ์ในการทดลองให้มีความคงที่ จัดสมาชิก เข้ากลุ่ม โดยการสุ่ม การควบคุมตัวแปรเกิน นำตัวแปรเกินมาใช้ ในการวิจัย ใช้สมาชิก ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด ควบคุม ด้วยสถิติ
วิธีการที่ทำให้เกิดคุณภาพ การวิเคราะห์ และสถิติ (Data Analysis and Statistics Design) การออกแบบการวิจัย (Research Design) การออกแบบ การสุ่มตัวอย่าง (Sampling Design) การออกแบบ เครื่องมือ (Instrument Design)
วิธีการที่ทำให้เกิดคุณภาพ: การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรเป้าหมาย กำหนดลักษณะข้อมูลที่จะรวบรวม 2 6 3 5 1 4 กระบวน การสุ่มตัวอย่าง กำหนดวิธีการ ในการวัด นิยามประชากร ที่จะเลือก เป็นกลุ่มตัวอย่าง กำหนดหน่วย ของการสุ่มตัวอย่าง การวางแผนการเลือก กลุ่มตัวอย่าง Sample Size Sampling Technique ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างในขั้นสุดท้าย
วิธีการที่ทำให้เกิดคุณภาพ: การออกแบบเครื่องมือในการวิจัย Validity 1 Reliability 2 Discriminating Power 3 Difficulty 4
วิธีการที่ทำให้เกิดคุณภาพ: การวิเคราะห์และสถิติ 1 3 2 ตรวจสอบว่าข้อมูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นหรือไม่ เลือกใช้สถิติ ที่เหมาะสม กับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย เลือกใช้สถิติ ที่เหมาะสม กับข้อมูลที่เก็บรวบรวม
สรุป: วิธีการที่ทำให้เกิดคุณภาพ การออกแบบการวิจัยจึงเป็นการควบคุม ตัวแปรเกินและตัวแปรสอดแทรกที่จะเข้ามา ในการวิจัย เพื่อให้ผลการวิจัยมีความถูกต้อง อันจะนำไปสู่การวิจัยที่มีคุณค่า และมีคุณภาพ ต่อไป
Thank You