สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน Mahasarakham University
สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ สถิติพื้นฐาน สถิติสำหรับทดสอบสมมุติฐาน สถิติเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยทั่วไปถูกนำไปใช้ใน 3 ลักษณะ
สถิติที่ใช้ในการวิจัย 1. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย 1.1 นวัตกรรม 1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. สถิติพื้นฐาน ร้อยละ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม) การวัดการกระจาย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ พิสัย) 3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย และ การหาความสัมพันธ์
แบบสอบถามหรือแบบวัดทางจิตวิทยา สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามหรือแบบวัดทางจิตวิทยา สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ ความตรง (Validity) อำนาจจำแนก ความเที่ยง (Reliability)
กลุ่มตัวอย่าง(Sample) ประชากร (Population) กลุ่มตัวอย่าง(Sample) ค่าพารามิเตอร์ (Parameters) ค่าสถิติ (Statistics) สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
ประชากร (Population) Population and Sample กลุ่มของสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ซึ่งสมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรกลุ่มหนึ่ง ๆ จะมี ลักษณะหรือคุณสมบัติบางอย่างร่วมกัน กลุ่มตัวอย่าง (Sample) กลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประชากรที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ดี คือ กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะสำคัญ ครบถ้วนเหมือนกับกลุ่มประชากร
ค่าพารามิเตอร์และค่าสถิติ เมื่อนำข้อมูลที่ได้จากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างมาดำเนินการ ด้วยวิธีการทางสถิติ เช่น สัดส่วน พารามิเตอร์ p กลุ่มตัวอย่าง ค่าที่ได้จากประชากรเรียกว่า “ค่าพารามิเตอร์(Parameters)” ค่าที่ได้กลุ่มตัวอย่างเรียกว่า “ค่าสถิติ (Statistics)”
(Parametric Statistics) (NonParametric Statistics) 1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) 2. สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) สถิติพาราเมตริก (Parametric Statistics) สถิตินอนพาราเมตริก (NonParametric Statistics)
ไม่มีข้อตกลงเบื้องต้น เกี่ยวกับลักษณะการ แจกแจงของประชากร เกี่ยวกับลักษณะการ แจกแจงของประชากร มีข้อตกลงเบื้องต้น ที่ต้องทราบ ลักษณะการแจกแจง ของประชากร สถิติพาราเมตริก (Parametric Statistics) สถิตินอนพาราเมตริก (Nonparametric Statistics)
ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้สถิติ ในการวิจัยสถาบัน ส่วนมากเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต้องทดสอบสมมติฐานทางสถิติ การทดสอบความแตกต่างหรือความสัมพันธ์ของค่าพารามิเตอร์ ทำได้ โดยนำค่าพารามิเตอร์มาเปรียบเทียบกัน หรืออธิบาย ความสัมพันธ์ได้เลย สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) จะใช้ก็ต่อเมื่อมีการ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเท่านั้น
สถิติที่ใช้ในการวิจัย ค่าเฉลี่ย สถิติพื้นฐาน ความแปรปรวน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์ สัดส่วน ร้อยละ
สถิติสำหรับทดสอบสมมติฐาน สถิติที่ใช้ในการวิจัย การทดสอบด้วยสถิติ Z สถิติสำหรับทดสอบสมมติฐาน การทดสอบด้วยสถิติ t การทดสอบด้วยสถิติ F การทดสอบสหสัมพันธ์
สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน (เปรียบเทียบ) - กรณี 1 กลุ่มตัวอย่าง (t-test for one sample) - กรณี 2 กลุ่มตัวอย่างไม่อิสระต่อกัน (t-test Dependent samples) - กรณี 2 กลุ่มตัวอย่างที่อิสระต่อกัน (t-test Independent samples) - ความแปรปรวนเท่ากัน (Pooled Variance t-test) - ความแปรปรวนไม่เท่ากัน (Separated Variance t-test) - กรณี 3 กลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน (One-way Repeated Measure) - กรณี 3 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน (One-way ANOVA)
สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน t-test one group 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม มากกว่า 2 กลุ่ม อิสระ ไม่อิสระ ANOVA t-test Dependent t-separated t-pooled
สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน (ความสัมพันธ์) 1. สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Simple Correlation) rxy 2. สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Correlation) RY.123…n 3. การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis : EFA,CFA) 4. การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) 5.การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) : Par, PAQ, PAL(SEM) 6. การวิเคราะห์พหุระดับ (Multi-Level Analysis) : MMRA, MPAQ , MSEM