ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม การบ้าน ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
Quiz ยีนคืออะไร โครโมโซมและยีนมีความสัมพันธ์และแตกต่างกันอย่างไร
เมนเดลคือใคร มีความสำคัญอย่างไร
เมนเดล บาทหลวงชาวออสเตรีย มีความสนใจทางด้านคณิตศาสตร์ ผสมพันธุ์ถั่วลันเตา ดูผลของลักษณะต่างๆ
เมนเดล - สีของ endosperm; เหลือง vs เขียว - สีดอก; แดง vs ขาว
เมนเดล Law of segregation Law of independent assortment ลักษณะที่มาเข้าคู่กัน ไม่ว่าเป็นลักษณะเด่นหรือด้อยมีโอกาสเท่าๆกันที่จะปรากฏให้เห็นในลูกผสม Law of independent assortment เมื่อใดก็ตามเมื่อมีการเข้ามาอยู่รวมกันของลักษณะมากกว่าหนึ่งลักษณะ การแสดงออกของลักษณะต่างๆในรุ่นลูก เป็นอิสระต่อกัน
เมนเดล ผสมพันธุ์ลูกรุ่นที่ 1 กลับไปหาต้นพ่อแม่ที่เป็นลักษณะด้อย ได้อัตราส่วนของรุ่นที่ทำการผสมกลับ (backcrossing) เป็น 1 : 1 และถึงแม้ว่ามีการผสมกลับข้าง (reciprocal crossing) โดยให้ต้นที่เป็นต้นแม่เปลี่ยนมาเป็นต้นพ่อบ้าง ผลที่ได้รับ ก็เป็นเช่นเดียวกัน
เมนเดล เมนเดลได้กำหนดลักษณะที่ปรากฏให้เห็นมีการควบคุมอยู่ 2 ลักษณะด้วยกัน คือการควบคุมด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A แสดงถึงลักษณะเด่นและตัวพิมพ์เล็ก เช่น แสดงถึงลักษณะด้อย a allele คืออะไร
เมนเดล Allele คือรูปต่างกันของยีนที่ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะใดลักษณะหนึ่ง อีกนัยหนึ่ง คือยีนที่ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่มีตำแหน่งเดียวกันบนโครโมโซมที่มาเข้าคู่กัน
เมนเดล การทำ Punnett Square AaBb AB Ab aB ab AABB AABb AaBB AaBb AAbb
เมนเดล AB Ab aB ab AABB AABb AaBB AaBb AAbb Aabb aaBB aaBb aabb ได้ลักษณะ genotype 9 ลักษณะ คือ AABB, AAbb, aaBB, aabb AABb, AaBB, Aabb aaBb AaBb (Additive) Dominance ได้ 4 ลักษณะ คือ A_B_, A_bb, aaB_, aabb
เมนเดล สูตรในการคำนวน ลักษณะที่ควรจะเกิดขึ้น n จำนวนลักษณะที่ต้องการศึกษา จำนวน gamete ที่นำมาใช้ในการทำลูกผสม 2n ลักษณะที่ปรากฎให้เห็นในรุ่นที่ 2 3n จำนวนของลูกที่ได้ในรุ่นที่ 2 4n
เมนเดล แบบฝึกหัด ถ้ามีลักษณะที่ต้องการศึกษาอยู่ 5 ลักษณะด้วยกัน สามารถหา จำนวน gamete ที่ได้ ลักษณะของลูกที่ได้ในรุ่นที่ 2 และจำนวนลูกที่ได้เป็นเท่าใด
เฉลย ลักษณะที่ต้องการศึกษาอยู่ 5 ลักษณะจำนวน gamete ที่ได้ 25 = 32 ลักษณะของลูกที่ได้ในรุ่นที่ 2 35 = 243 จำนวนลูกที่ได้ 45 = 1024
5 ลักษณะ: A B C D E ABCDE ABCDe ABCdE ABCde ABcDE ABcDe ABcdE ABcde AbDDE AbDde AbCdE AbCde AbcDE AbcDe AbcdE Abcde aBCDE aBCDe aBCdE aBCde aBcDE aBcDe aBcdE aBcde abCDE abCDe abCdE abCde abcDE abcDe abcdE abcde
ยีน ยีน คือหน่วยสมมติที่ใช้เป็นตัวกำหนดในการถ่ายทอดลักษณะใดลักษณะหนึ่งในสิ่งมีชีวิต ยีนคือหน่วยพันธุกรรมซึ่งประกอบไปด้วยลำดับเบสของดีเอนเอที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลจากดีเอนเอไปสู่อาร์เอนเอ แล้วมีการเอนไซม์ทำหน้าที่ควบคุมปฏิกิริยาทางชีวเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโต การทำงานและลักษณะจำเพาะของสิ่งมีชีวิต
Intralocus interaction Interloci interaction ยีน การทำงานของยีน Intralocus interaction Interloci interaction
ยีน Intralocus interaction Dominance Additive Overdominance
dominance
additive
overdominance
Interloci interaction Epistasis การที่ยีนตำแหน่งหนึ่งมีผลต่อการทำงานของยีนอีกตำแหน่งหนึ่ง ตัวอย่าง กล้วยไม้สีขาว 2 ชนิดผสมกันได้ดอกสีชมพู เกิดขึ้นได้อย่างไร
epistasis CCrr x ccRR CcRr
Transgressive segregation ลูกที่ได้จากการผสมพันธุ์ในรุ่นที่ มีลักษณะที่ไม่ปรากฎในพ่อและหรือแม่มาก่อน
AAAaaa AAaaaa Aaaaaa aaaaaa ต้นแม่ ต้นพ่อ เปลือกหุ้มเมล็ดสีแดงเข้ม × เปลือกหุ้มเมล็ดสีแดงอ่อน A1A1A2A2a3a3 a1a1a2a2A3A3 ลูกรุ่นที่ 1 เปลือกหุ้มเมล็ดสีแดงปานกลาง A1a1A2a2A3a3 ลูกรุ่นที่ 1 ผสมตัวเอง ลูกรุ่นที่ 2 AAAAAA AAAAAa AAAAaa AAAaaa AAaaaa Aaaaaa aaaaaa
โครโมโซม หมายถึง ชิ้นส่วนที่ย้อมสีติดได้ ในสภาพปกติในขณะที่ยังไม่มีการแบ่งเซลล์นั้น มีเส้นที่เรียกว่า โครมาติน (chromatin ) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ DNA เส้นคู่และฮีสโตน(histone) ต่างๆ อยู่ในนิวเคลียส
โครโมโซม เมื่อเซลล์พร้อมที่จะมีการแบ่งเซลล์ โครมาตินมีการหดตัวให้สั้นเข้าเกิดเป็นส่วนของโครโมโซม
โครโมโซม โครโมโซมหนึ่งๆ มีตำแหน่ง (locus) ของยีนอยู่ได้มากมาย นอกจากนั้นแล้ว บนโครโมโซมยังมี เซนโตรเมีย (centromere) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ สปินเดิล (spindle) เข้ามาจับเมื่อมีการแยกตัวของโครโมโซม ในขณะที่มีการแบ่งเซลล์
โครโมโซม เซนโตรเมีย โครโมโซม ตำแหน่งของยีนบนแท่งโครโมโซม B A