สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา 352441 การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
esearch and Development
Advertisements

การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
ปัญหาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Management Information Systems
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
Alternative Strategies
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวิเคราะห์ผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 10 ปัญหาของการประเมินผลในโครงการส่งเสริมการเกษตร
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
กระบวนการวิจัย Process of Research
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ADDIE Model.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
หลักการเขียนโครงการ.
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture ) บทที่ 3 การออกแบบการ ประเมินผลโครงการ (Evaluation Designs) รศ. ดร. สุรพล เศรษฐบุตร ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 2  องค์ประกอบการ ออกแบบแผนการ ประเมินผล  ชนิดของแบบแผนการ ประเมินผล  แบบแผนการประเมินผล การออกแบบการ ประเมินผลโครงการ (Evaluation Designs)

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 3 แบบแผน (Design) หรือ การออกแบบ ในทางการวิจัยและการประเมินผล หมายถึง  แผนการ (Plan) หรือโครงร่างที่ช่วย บอกให้เราทราบว่า จะทำ อะไร เมื่อไร และ กับใคร ในการดำเนินงาน การประเมินผล  บางแห่งเรียกว่าเป็นพิมพ์เขียว (Blue Print) ที่จะทำให้นัก ประเมินผลรู้ว่า จะต้องเก็บข้อมูลอะไร กับใคร ใ ช้ เครื่องมืออะไร วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร และอาจนำไปสู่การแปรผลอย่างไรด้วย การออกแบบการประเมินผลโครงการ (Evaluation Designs)

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 4 กลุ่มควบคุม (Control Group) คือ กลุ่มที่ไม่ได้ให้โครงการ หรือนำ โครงการดังกล่าวไปปฏิบัติ แต่มี ลักษณะเหมือนกลุ่มทดลองทุก ประการ กลุ่มทดลอง (Experimental Group) คือ กลุ่มที่อยู่ในโครงการ และมีการให้ กิจกรรมนำไปปฏิบัติ กลุ่มนี้มีความ แตกต่างกับกลุ่มควบคุมในเรื่องของ กิจกรรม สิ่งที่ควรทราบในการออกแบบ การประเมินผลโครงการ

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 5 ตัวอย่าง เปรียบเทียบทัศนคติของเกษตรกร 2 กลุ่ม ในเรื่องเกษตรอินทริย์ โดยใช้ แบบสอบถามเรื่องเกี่ยวกับเกษตร อินทริย์ จำนวน 30 ข้อ  กลุ่มควบคุม (Control Group) คือ เกษตรกรบ้านออนเหนือ  กลุ่มทดลอง (Experimental Group) คือ เกษตรกรจำนวน 40 คนที่ผ่านการฝึกอบรมเกษตรอินทรีย์จากกรมส่งเสริมการ เกษตร

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 6  ประชากร คือ กลุ่มทั้งหมด ของคน สัตว์ หรือสิ่งของที่เรา จะศึกษา  กลุ่มตัวอย่าง คือ บางส่วนของ กลุ่มคน สัตว์ หรือสิ่งของที่เรา จะศึกษา ประชากร (Population) และ กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ประชากร กลุ่มตัวอย่าง

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 7 ตัวอย่าง ต้องศึกษาความคิดเห็น ของนศ. มช. ที่มีต่อโครงการหนึ่ง ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัด เชียงใหม่ ประชากร คือ.... นักศึกษาทุกคนของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง คือ.... ตัวแทนนักศึกษาทุกคณะทุกชั้นปี โดยการคัดเลือกทางสถิติ โดยใช้ สัดส่วนหรือการสุ่มตัวอย่าง (Sampling)

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 8  ในการฝึกอบรมโครงการต่าง ๆ ผู้ ประเมินผลมักนิยมสอบวัดความรู้ก่อน และหลังผู้เข้ารับการฝึกอบรม ว่ามี ความรู้มากน้อยเพียงใดในเรื่องนั้น ๆ  ผลที่ได้จากการสอบวัดก่อนอาจ นำมาใช้ประโยชน์ในการปรับเปลี่ยน เนื้อหาให้เหมาะสมกับผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม  นำผลการสอบวัดก่อนมาเปรียบเทียบ กับผลการสอบวัดหลัง เพื่อใช้เป็น แนวทางในการฝึกอบรมในครั้งต่อไป การทดสอบหรือการวัดก่อนและ หลัง (Pre-Post Test)

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 9  การทดสอบที่จัดกระทำขึ้น ก่อนที่บุคคลจะได้รับโครงการ หรือก่อนที่จะมีการทดลอง  เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ ตรวจสอบว่าหลังจากสิ้นสุด โครงการแล้ว มีสิ่งต่าง ๆ เพิ่มขึ้น มากน้อยเพียงใด เช่น เกษตรกร มี ความรู้ หรือทักษะเพิ่มขึ้นระดับ ใด การทดสอบก่อน (Pre – test)

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 10  เป็นการทดสอบเมื่อการทดลอง โครงการสิ้นสุดลง  การทดสอบหลังมีวัตถุประสงค์ เพื่อการดูผลที่เกิดขึ้นในตัวผู้ ได้รับการทดสอบจากโครงการ นั้น ๆ ว่ามีความเปลี่ยนแปลง ใดบ้างเกิดขึ้น การทดสอบหลัง (Post – test)

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept แบบที่มีกลุ่มควบคุมอย่างแท้จริง และมีการสอบวัดก่อนและหลัง โครงการ (The True Control Group Pre - test Post - test Design) Pre- test Post-test Control GroupRO1 O2 Experimental GroupR O1 O2 6 แบบแผนของการ ออกแบบการประเมินผล x R = Random Assignment O = Observation or Measurement X = Program

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept แบบที่มีกลุ่มควบคุมอย่างแท้จริง มีการสอบวัดครั้งหลังอย่างเดียว (The True Control Group Post - test Design) Pre- test Post-test Control Group R - O2 Experimental Group R - O2 x R = Random Assignment O = Observation or Measurement X = Program

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept แบบแผนที่มีกลุ่มควบคุมที่ไม่เท่า เทียมกัน และมีการสอบวัดก่อน และหลังโครงการ (The Non Equivalent Control Group Pre - test Post - test Design) เนื่องจากไม่ได้เกิดจากการสุ่ม มีการ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนทั้ง 2 กลุ่ม Pre-test Post-test Control Group O 1 O 2 Experimental Group O 1 O 2 x O = Observation or Measurement X = Program

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept แบบที่มีกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว และมี การสอบวัดตลอดโครงการ (The Single Group Time Series Design) โดยทำ การเก็บข้อมูลของการวัดอย่างน้อย 3 ครั้งก่อนที่จะให้กลุ่มทดลองได้รับ โครงการมีการตรวจสอบและคุมการ ดำเนินการของโครงการทำการเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการวัดผลที่จะเกิดขึ้น เป็นระยะ ๆ ในช่วงเวลาที่เท่ากันหลังจาก ที่โครงการได้ดำเนินไปแล้วอย่างน้อย 3 ครั้ง Time Series Experimental Group O 1 O 2 O 3 O 4 O 5 O 6 O = Observation or Measurement X = Program

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept แบบที่มีกลุ่มควบคุมไม่เท่าเทียมกัน และมีการสอบวัดตลอดโครงการ (The Time Series Design with a Non equivalent Control Group) ไม่ได้มีการสุ่มหน่วยทดลองเข้ากลุ่ม ทั้ง 2 / มีการวัดผลที่เกิดขึ้นก่อนและ หลังการให้โครงการฯ Time Series Control GroupO1O2O3 O4 O5 O6 Experimental GroupO1O2O3 O4 O5 O6 x O = Observation or Measurement X = Program

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept แบบแผนที่มีกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว และมีการสอบวัดก่อนและหลัง โครงการ (The Single Group the Before and After Test Design) เป็นแบบแผนที่มีข้อบกพร่องมาก ที่สุด เนื่องจากใช้กลุ่มทดลองเพียง กลุ่มเดียว ไม่มีการสุ่มหน่วยทดลอง มีแต่เพียงการทดลองครั้งแรกและ การทดสอบครั้งหลัง Pre-test Post-test Experimental Group R O 1 X O 2

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept

สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 18 “ What you have Learned ” นักศึกษาได้เรียนรู้ อะไรบ้างจากบทเรียนใน เรื่อง “ การออกแบบการ ประเมินผลโครงการ ” Class Reflection