ทางรอดของมนุษย์ ในวันสิ้นโลกหรือ...?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
โครงการธนาพัฒน์เฮ้าส์ 1. เฝ้าระวังเตรียมความพร้อมจัดเตรียมกระสอบทราย และอุปกรณ์ จำเป็นป้องกันเบื้องต้นในทุกโครงการ ควบคุมระบบสาธารณูปโภค ที่สำคัญ คือระบบไฟฟ้า.
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ดาวอังคาร (Mars).
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
เศรษฐกิจพอเพียง.
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
แผ่นดินไหว.
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
(Global Positioning System)
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
โครงการ ส่งเสริมการออม.
ความหมายของสิทธิบัตร
ไดร์เป่าผม.
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ดินถล่ม.
The paris พระรามเก้า - รามคำแหง การเตรียมพร้อมรับมือการเกิดอุทกภัย ปี 2555.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
การออกแบบการจัดสวนหย่อม
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทางรอดของมนุษย์ ในวันสิ้นโลกหรือ...? Vivos บังเกอร์หรู ทางรอดของมนุษย์ ในวันสิ้นโลกหรือ...?

มะกันเปิดตัว “วีโวส” บังเกอร์สุดหรู ใต้ดินมูลค่ากว่า 300 ล้านบาท ที่มีความแข็งแกร่งทนทานสามารถ ต้านทานภัย พิบัติร้ายแรงทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและ น้ำมือมนุษย์

แต่ละบังเกอร์รองรับประชาชนได้มากสุดถึง 200 คน ภายในมี อาหาร ยา ข้าวของเครื่องใช้ สิ่งอำนวยความสะดวก และ อุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตอย่างครบครัน จึงช่วยให้ผู้ที่อยู่ภายในสามารถใช้ชีวิตแบบสบายๆ ได้นาน ถึง 1 ปีโดยไม่ต้องออกจากบังเกอร์

หาก คุณเป็นคนหนึ่งที่คิดว่าภาพยนตร์เรื่อง “2012 วันสิ้นโลก” และ “The Da y A fter Tomorrow” (วิกฤติวันสิ้นโลก)

นำเสนอภาพภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นกับโลกมนุษย์แบบโหดร้ายเกินจริง อาจรู้สึกว่าแนวคิดในการก่อสร้างบังเกอร์ “วีโวส”ของบริษัท Vivos ในมลรัฐ แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา  เป็นแค่จินตนาการและเรื่องเพ้อ ฝันที่ไม่มีวันเป็นไปได้ (ในเชิงพาณิชย์)

แต่ สำหรับคนบางกลุ่มที่เชื่อเรื่องวันโลกา วินาศอย่างจริงจังและต้องการเป็นหนึ่งในผู้รอดชีวิตจากภัยพิบัติร้ายแรง…   บังเกอร์ ใต้ดิน “วีโวส” ก็เป็นทางเลือกหนึ่ง ที่ช่วยให้ผู้ที่ไม่ประมาท (หรือแม้แต่ภาครัฐบาล) เตรียมตัวรับสถานการณ์ร้ายแรงทุกรูปแบบที่อาจเกิดขึ้นบนโลกมนุษย์ได้อย่าง มั่นใจ

ที่ผ่านมา แนวทางหนึ่งที่มักถูกหยิบยกมากล่าวถึงในกรณีที่ เกิดภัยพิบัติก็คือ “การหาที่กำบังใต้ดิน” เพราะ บริเวณใต้พื้นโลกสามารถต้านทานหายนะส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกได้ ไม่ว่าจะเป็นการเลื่อนขั้วแกนหมุนของโลก  

เหตุการณ์ภูเขาไฟใต้น้ำระเบิดครั้งร้ายแรงหรือซูเปอร์ โวลคาโน (ครบกำหนด 7.4 หมื่นปีที่จะทำลายหรือระเบิดตัว เองในปี 2012) การระเบิดหรือลุกจ้าของดวงอาทิตย์ (solar flares)  เหตุแผ่นดินไหวร้ายแรง สึนามิ และมหันตภัยจากกลุ่มดาวเคราะห์น้อยพุ่งเข้าชนโลก

รวมทั้ง ภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากน้ำมือมนุษย์ เช่น ระเบิดนิวเคลียร์ สงครามชีวภาพ สงครามเคมี ตลอดจนการกลับมาอีกครั้งของ Planet X หรือที่รู้จักกันในนาม “ดาว นิบิรุ” ซึ่งมีแรงดึงดูดมหาศาล อันจะส่งผลให้เกิดการรบกวนระบบสุริยะ (วงโคจรของดาวที่ว่าจะมาถึงในปี 2012)

และด้วยเหตุผลดังกล่าว บริษัทวีโวส จึงมีแนวคิดในการออกแบบบังเกอร์หรูสไตล์คอมเพล็กซ์ที่อยู่ลึกลงไปใต้พื้นดิน ภายใต้ระบบอากาศแบบปิด (ไม่ให้มีอากาศเข้า-ออก)

โดยออกแบบให้เป็นที่อยู่อาศัยแบบพึ่งพาตนเอง สามารถต้านทานภัยพิบัติร้ายแรงทุกชนิดดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น (รวมทั้งช่วยให้ หลีกหนีจาก สังคมอนาธิปไตย ที่มีเหตุการณ์จราจล ประชาชนไม่เคารพกฏหมายและกติกาบ้านเมือง) เพื่อให้ผู้ที่อยู่ภายในไม่เพียง “รอดชีวิต” แต่ยังสามารถ “ดำรงชีวิต” อยู่ได้เป็นอย่างดี และมีความเป็นอยู่ที่สะดวกสบายหลังเกิดภัยพิบัติร้ายแรงอีกด้วย

“วีโวส” เป็นสถานที่กำบังที่สามารถรองรับ ผู้อยู่อาศัยได้ทั้งสิ้นราว 172-200 คน ทุกคนสามารถดำรงชีวิตแบบสบายๆ ภายในบังเกอร์ได้นานถึง 1 ปี โดยไม่ต้องเตรียมตัวหรือวางแผนใดๆ สิ่งที่ต้องทำมีเพียงอย่างเดียวก็คือ เดินทางมาถึง “วีโวส” ให้ทันตามกำหนดเวลา ก่อนที่ระบบจะปิดล็อกเพื่อดำเนินมาตรการ ด้านการรักษาความปลอดภัย

ระบบกำบังของ “วีโวส” มีความแข็งแกร่งทนทานเป็นพิเศษ ได้รับการออกแบบให้สามารถ ต้านทานแรงระเบิดขนาด 50 เมกะตัน (เท่ากับระเบิดทีเอ็นที 50 ล้านตัน) ภายในประกอบด้วย ส่วนของที่พักอาศัย (ในบริเวณที่มีลักษณะคล้ายท่อ) จำนวน 10 จุดที่อยู่รายรอบและเชื่อมต่อกับโถงกลางรูปทรงกลมหรือ โดม 2 ชั้นขนาด 60 ฟุต ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะที่อยู่กลางที่พักอาศัย แต่ละโซน

จะมีระบบผลิตพลังงาน ธนาคารแบตเตอรี่สำรอง บ่อกักเก็บน้ำ ระบบกรองอากาศ (สามารถป้องกันและกำจัดการ ปนเปื้อนของเชื้อโรค สารเคมี และ รังสีชนิดต่างๆ) ระบบบำบัดน้ำเสีย ตลอดจน คลังเก็บเสบียง เสื้อผ้า ยา อุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในกรณีฉุกเฉิน (รวมทั้งรถยนต์ออฟโรด) เป็นของตัวเองอีกด้วย

ผู้ที่อาศัยอยู่ใน “วีโวส” จะมีพื้นที่ใช้ สอยส่วนตัวคนละ 100 ตารางฟุต ( 9 ตารางเมตร) ในขณะที่กาชาดสากลระบุว่าที่กำบัง หรือสถานที่หลบภัยใต้ดินจะต้องมีพื้นที่ ใช้สอยอย่างน้อยคนละ 40 ตารางฟุต (เกือบ 4 ตารางเมตร)

ส่วนหน่วยงานบรรเทาสาธารณภัยของสหรัฐอเมริกา หรือ FEM A ระบุว่า สถานที่หลบภัยใต้ดินจะต้องมีพื้นที่ใช้สอยอย่างน้อยคนละ 50 ตารางฟุต (เกือบ 5 ตารางเมตร)

ช่วงที่ยังไม่มีการใช้งาน ทางบริษัทฯ จะเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ ตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแซม และรักษาความปลอดภัยบังเกอร์หลบภัยใต้ดินให้เจ้าของร่วม (ลูกค้า) อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา

ปัจจุบัน บริษัท “วีโวส” กำลังเตรียมก่อสร้างสถานที่หลบ ภัยใต้ดิน 20 แห่งทั่วสหรัฐอเมริกา เพื่อให้เป็นบ้านของ ประชาชนราว 4 พันคน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่ไม่ประมาท และเชื่อในคำนายเกี่ยวกับวันสิ้นโลกได้เข้า ร่วมลงทุน และจับจองพื้นที่

เพื่อเตรียมตั้งรับภัยพิบัติร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นบนโลกมนุษย์ ทั้งในอนาคตอันใกล้หรืออีกหลาย 10 ปีข้างหน้า โดยไม่จำกัด เชื้อชาติ ศาสนา ซึ่งในเบื้องต้นมีรายงานว่า ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างบังเกอร์แต่ละแห่งมีมูลค่าราว 10 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือกว่า 300 ล้านบาทเลย ทีเดียว