หลักการวินิจฉัยโรค และแมลงศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ แมลงที่สำคัญทางการแพทย์
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
RICE RAGGED STUNT VIRUS (โรคจู๋ของข้าว)
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
จัดทำโดย cucumber mosaic virus นายธนภัค แสงมณี รหัส
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย
II. Post harvest loss of cereal crop
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
โรคกล้วย โดย ผศ.อดิศักดิ์ บ้วนกียาพันธุ์
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการวินิจฉัยโรค และแมลงศัตรูพืช โดย นางสาวนุชจารี วนาศิริ ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดเชียงใหม่

ทำอย่างไร ? เราจะวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง ความรู้ เครื่องมือ วิธีการ

Disease triangle เชื้อสาเหตุ พืชอาศัย เวลา สิ่งแวดล้อม

สาเหตุที่ทำให้พืชเป็นโรค เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต เกิดจากสิ่งมีชีวิต เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต

การแทงผ่านเข้าสู่พืช Disease cycle การปลูกเชื้อ อยู่ข้ามฤดู การแทงผ่านเข้าสู่พืช แพร่ระบาด การติดเชื้อ เติบโต/ขยายพันธุ์ การเจริญลุกลาม

โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิต จุลินทรีย์ต่างๆ (microorganism) ไส้เดือนฝอยศัตรูพืช (Nematode) โปรโตซัว (Protozoa) พืชชั้นสูง (Phanerogram) สาหร่ายปรสิต (parasitic algae)

เชื้อรา (Fungi) เป็นจุลินทรีย์ มีนิวเคลียส มีเซลลูโลส หรือไคตินเป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ ลักษณะ เป็นเส้นใยยาว แตกกิ่งสาขา ขยายพันธุ์แบบใช้เพศ (Zygospore, Ascospore, Basidiospore) และไม่ใช้เพศ (conidia, sporangiospore) เป็นปรสิต (parasite) หรือ แซปโปรไฟต์ (saprophyte)

เชื้อสาเหตุโรคพืช รา (Fungi) Oidium sp. Colletotrichum gloeosporioides Curvularia sp.

acervulus pycnidium

อาการของโรคที่เกิดจากเชื้อรา

Anthracnose rust ราแป้ง

เชื้อแบคทีเรีย เป็นจุลินทรีย์เซลล์เดียว ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส (prokaryote) รูปร่างท่อน กลม เกลียว เป็นปรสิต (parasite) หรือ แซปโปรไฟต์ (saprophyte)

แบคทีเรีย (Bacteria) โรคเน่าดำ ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ

อาการ Bacterial pastule Xanthomonas campestris pv. Glycine อาการ Bacterial pastule

bacterial ooze exuding

เชื้อไวรัส มีรูปร่างหลายแบบ ทรงกระบอกสั้น ท่อนยาว ทรงกลมหลายเหลี่ยม อนุภาคของไวรัสประกอบด้วยกรดนิวคลิอิค ที่ห่อหุ้มด้วยโปรตีน มีรูปร่างหลายแบบ ทรงกระบอกสั้น ท่อนยาว ทรงกลมหลายเหลี่ยม ถ่ายทอดโดยมีแมลง ไร กาฝาก และจุลินทรีย์เป็นพาหะ

ไวรัส (virus) Tobacco mosaic virus (TMV)

Cucumber Mosaic Virus (CMV) พาหะ

ใบจุดวงแหวนมะละกอ ใบด่างถั่วฝักยาว

โรคใบสีส้มของข้าว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว พาหะ

ไวรอยด์ (viroid) Hop stunt viriod Citrus exocortis viroid (CEVd)

ไฟโตพลาสมา (phytoplasma) พุ่มไม้กวาด Witches broom แตกพุ่มแจ้ ลักษณะเป็นฝอย Phyllody แมลงพาหะ : เพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล

ไส้เดือนฝอย (Nematode) ขนาด 15-30 ไมครอน ยาว 300-1,000 ไมครอน มี spear หรือ stylet เป็น ectoparasite หรือ endoparasite

ไส้เดือนฝอย (nemathod)

The root-knot nematode, Meloidogyne incognita b: ไส้เดือนฝอยเพศเมีย จากเนื้อเยื่อบริเวณราก c: แสดงอาการปุ่มปมที่รากของมะเขือเทศ

อาการรากปม Corn seedlings stunted by nematode feeding

โปรโตซัว (Protozoa) โรคเหี่ยวในปาล์มน้ำมัน พืชชั้นสูง (Phanerogram) กาฝาก ฝอยทอง หญ้าแม่มด สาหร่ายปรสิต (Parasitic algae) ปกคลุมผิวพืชทำให้การสังเคราะห์แสงลดลง

โรคพืชที่มีสาเหตุจากสิ่งไม่มีชีวิต อุณหภูมิ : สูง หรือ ต่ำเกินไป ความชื้น : สูงหรือต่ำกินไป แสงสว่างไม่เพียงพอ ออกซิเจนไม่เพียงพอ มลภาวะ การขาดแคลนแร่ธาตุ ( หลัก N P K รอง Mg Ca B S Fe Zn) ดินเป็นกรด ด่าง จัด พิษจากสารเคมี การปฏิบัติทางเขตกรรมไม่เหมาะสม Zn Ca

ขั้นตอนการวินิจฉัยโรค สังเกตอาการผิดปกติของพืช เก็บตัวอย่างพืชเป็นโรค /ดิน อย่างถูกต้อง พร้อมข้อมูลการปลูกพืช การตรวจวินิจฉัยสาเหตุโรค

เทคนิคการตรวจสอบเชื้อสาเหตุโรค Streak plate ใช้กับเชื้อแบคทีเรีย

Dilution method

การแยกเชื้อจากดินโดยตรง (Direct soil plating)

การแยกเชื้อโดยใช้เหยื่อล่อ (Baiting technique)

การแยกเชื้อจากดินบริเวณรากพืช (Pathogen isolation from the rhizosphere)

การแยกเชื้อราจากเมล็ดพืช (Isolation from infected seed) Blotter method Agar method

Koch’s Postulates ( 4 ขั้นตอน) เชื้อสาเหตุมีความสัมพันธ์กับพืช สามารถแยกเชื้อสาเหตุโรคจากพืชนั้นให้เป็นเชื้อบริสุทธิ์ เชื้อบริสุทธิ์ที่แยกได้ นำไปปลูกเชื้อในพืชปกติ พืชที่ได้รับการปลูกเชื้อสามารถแสดงอาการ

ในอันดับ (order) ต่างๆ การจำแนกแมลง ในอันดับ (order) ต่างๆ

Order Coleoptera ด้วงปีกแข็ง มี 4 ปีก ปีกนอกแข็ง ปีกในใส ศัตรูพืช / ตัวห้ำ

ด้วงเต่าตัวห้ำ

Order Lepidoptera มี 4 ปีก ปีกมีขน/ลาย เป็นศัตรูพืช (ตัวแก่กินน้ำหวาน) ผีเสื้อ Order Lepidoptera มี 4 ปีก ปีกมีขน/ลาย เป็นศัตรูพืช (ตัวแก่กินน้ำหวาน)

Order Hymenoptera มี 4 ปีก บางใส เอวคอด เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน ผึ้ง ต่อ แตน มด มี 4 ปีก บางใส เอวคอด เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน (ผึ้งกินน้ำหวาน)

Order Diptera มี 2 ปีก ปีกบาง ตาโต เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน แมลงวัน ยุง มี 2 ปีก ปีกบาง ตาโต เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน

การจำแนกแมลงวันผลไม้ Bactocera dorsalis B. correcta B. carambolae B. papayae

Order Homoptera มี 4 ปีกเท่ากัน หัวและหลังรูปสามเหลี่ยม เพลี้ย มี 4 ปีกเท่ากัน หัวและหลังรูปสามเหลี่ยม ปากเจาะดูด เป็นศัตรูพืช

Order Hemiptera มี 4 ปีก โคนปีกแข็ง ปลายปีกอ่อน ปากแหลม ปากเจาะดูด เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ

Order Orthoptera มี 4 ปีก ตาโต ขาใหญ่ ปากกัด ตั๊กแตน แมลงสาบ แมลงกระชอน จิ้งหรีด มี 4 ปีก ตาโต ขาใหญ่ ปากกัด เป็นศัตรูพืช (หนวดสั้น) เป็นตัวห้ำ (หนวดยาว)

Order Collembola แมลงเล็ก ๆ ในตม ไม่มีปีก ใต้ท้องมีขาดีด 1 คู่ แมลงหางดีด แมลงเล็ก ๆ ในตม ไม่มีปีก ใต้ท้องมีขาดีด 1 คู่ อยู่ในดิน กินซากพืช จุลินทรีย์ในดิน

ปีกมีร่างแห ละเอียดมาก บินเหนือน้ำ Order Ephemeroptera ชีปะขาว ปีกมีร่างแห ละเอียดมาก บินเหนือน้ำ กินซากพืช แพลงตอน

Order Odonata พบมากบริเวณแหล่งน้ำ ปากกัด เป็นตัวห้ำ แมลงปอ มี 4 ปีก ปีกคู่หน้าเล็กกว่าปีกคู่หลัง ปีกมีร่างแห พบมากบริเวณแหล่งน้ำ ปากกัด เป็นตัวห้ำ

Order Dermaptera หางเป็นง่าม ไข่ในดิน ชอบอยู่ในดินที่มีซากพืช แมลงหางหนีบ หางเป็นง่าม ไข่ในดิน ชอบอยู่ในดินที่มีซากพืช ปากกัด เป็นตัวห้ำ (กินซากพืช)

ปีกยาวแคบ มีขนขอบปีก ตัวเล็กมาก ปากกรีดดูด เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ Order Thysanoptera เพลี้ยไฟ ปีกยาวแคบ มีขนขอบปีก ตัวเล็กมาก ปากกรีดดูด เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ

ฟันแข็งแรง เป็นแมลงสังคม Order Isoptera ปลวก ฟันแข็งแรง เป็นแมลงสังคม ปากกัด เป็นศัตรูพืช

Order Neuroptera มี 4 ปีก เป็นร่างแห ทนแล้ง แมลงช้างปีกใส มี 4 ปีก เป็นร่างแห ทนแล้ง ปากดูด(ตัวเต็มวัย) ปากกัด(ตัวอ่อน) เป็นตัวห้ำ

การระบาดของแมลง - แมลงไม่ระบาดทุกชนิด - ไม่ระบาดทุกฤดู - ไม่ระบาดทุกแปลง / ทุกที่

จบการบรรยาย ขอบคุณค่ะ