พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร
ความก้าวหน้าของ พ.ร.บ. พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ ได้ประกาศใน ราชกิจจาฯ เมื่อ 19 พ.ย. 53 (มีผล 20 พ.ย.53) รับสมัครผู้แทนหมู่บ้าน 19-23 ม.ค. 54 เลือกตั้ง ผู้แทนหมู่บ้านในวันที่ 13 ก.พ. 54
สาระสำคัญ หลักการเหตุผล -ส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกร -สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย -สนับสนุนการตรวจสอบการดำเนินงานตามนโยบาย
องค์ประกอบ หมวด 1-สภาเกษตรกรแห่งชาติ (ม.5-19) 5 หมวด 43 มาตรา + บทเฉพาะกาล 11 มาตรา รวม 54 มาตรา : หมวด 1-สภาเกษตรกรแห่งชาติ (ม.5-19) หมวด 2-สำนักงานภาเกษตรกรแห่งชาติ (ม.20-30) หมวด 3-สภาเกษตรกรจังหวัด (ม.31-37) หมวด 4-สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด (ม.38-40) หมวด 5-แผนแม่บทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม (ม.41-43) บทเฉพาะกาล (ม.44-54) นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ. รมว.กษ.รักษาการ ในบทเฉพาะกาล
สภาเกษตรกรแห่งชาติ โครงสร้าง : 1. สมาชิก 99 คน ประกอบด้วย -ประธานสภาเกษตรกรจังหวัด 76 คน -ตัวแทนองค์กรเกษตรกรด้านพืช สัตว์ ประมง และอื่น ๆ 16 คน -ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน 2. สำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ
ที่มาของสภาเกษตรกรแห่งชาติ ประเภทที่ 1 : ประธานสภาเกษตรกรจังหวัด ๆละ 1 คน รวม 76 คน ประเภทที่ 2 : ผู้แทนองค์กรเกษตรกร ซึ่งสมาชิก ประเภทที่ 1 ร่วมกันสรรหา รวม 16 คน ประเภทที่ 3 : ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งสมาชิกระเภทที่ 1 และ 2 ร่วมกันสรรหา รวม 7 คน
สภาเกษตรกรแห่งชาติ (ต่อ) อำนาจหน้าที่โดยย่อ : -เสนอแนะนโยบาย และ แผนแม่บทต่อ ค.ร.ม. -ให้คำปรึกษาแก่ ค.ร.ม. -ให้คำปรึกษาแก่เกษตรกร -ปฏิบัติงานอื่น ๆ
สภาเกษตรกรจังหวัด โครงสร้าง : 1. สมาชิก 2 ประเภท -ผู้แทนอำเภอ 16 คน (ยกเว้นจังหวัดที่มีอำเภอเกิน 16 อำเภอ ให้เพิ่มสมาชิกให้เท่ากับจำนวนอำเภอ) -ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คนด้านพืช สัตว์และประมง อย่างน้อยด้านละ 1 คน) 2. สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด
ที่มาของสภาเกษตรกรจังหวัด ประเภทที่ 1 : ผู้แทนเกษตรกรระดับอำเภอ ซึ่งเกษตรกร ที่ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงเกษตรฯ ออกเสียงเลือกผู้แทน หมู่บ้านละ 1 คน แล้วผู้แทนหมู่บ้านเลือกผู้แทนระดับ ตำบลเพื่อเลือกผู้แทนระดับอำเภอโดยเลือกกันเอง ประเภทที่ 2 : ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้รับการสรรหา จากสมาชิกประเภทที่ 1 จำนวน 5 คน
สภาเกษตรกรจังหวัด อำนาจหน้าที่โดยย่อ : -พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ เกษตรกรและองค์กรเกษตรกร -ประสานนโยบายและการดำเนินงาน -เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรม -ส่งเสริมการรวมกลุ่ม -ให้คำปรึกษาแก่เกษตรกร
-ปลัดกระทรวงเกษตรฯ ทำหน้าที่เลขาธิการ บทเฉพาะกาล -ปลัดกระทรวงเกษตรฯ ทำหน้าที่เลขาธิการ สำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ และกำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การรับขึ้น ทะเบียนเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร -เกษตรและสหกรณ์จังหวัดทำหน้าที่หัวหน้า สำนักงานจังหวัด จัดการเลือกตั้ง
บทเฉพาะกาล (ต่อ) ปลัดกระทรวงเกษตรฯ และเกษตรและสหกรณ์จังหวัด -จัดการเลือกตั้งระดับหมู่บ้าน (ขึ้นทะเบียนเกษตรกร+เลือกตั้งผู้แทนระดับหมู่บ้าน)
บทบาทหน้าที่หลักของ กสก. จัดทำทะเบียนการเลือกตั้งผู้แทน เกษตรกรระดับหมู่บ้าน
บทบาทหน้าที่ของ กสก.(ส่วนกลาง) เป็นคณะกรรมการและอนุกรรมการ คณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งสภาเกษตรกรแห่งชาติ อนุกรรมการจัดทำบัญชีรายชื่อเกษตรกร
บทบาทหน้าที่ของ กสก.(ส่วนกลาง) ต่อ อนุกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์ และคู่มือการเลือกตั้ง อนุกรรมการประชาสัมพันธ์ กรรมการศูนย์ประสานงานการเลือกตั้ง
บทบาทหน้าที่ของ กสก.(ส่วนภูมิภาค) 1. เกษตรจังหวัดเป็นกรรมการอำนวยการเลือกตั้งระดับจังหวัด 2. เกษตรอำเภอเป็นกรรมการและเลขาฯกรรมการเลือกตั้งอำเภอ - รับขึ้นทะเบียนเกษตรกรเพิ่มเติม - จัดทำบัญชีรายชื่อเกษตรกรผู้มีสิทธิเลือกตั้ง - ปิดประกาศรายชื่อเกษตรกรผู้มีสิทธิเลือกตั้ง - พิจารณาคำร้องขอให้ เพิ่ม/ถอน ชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
การสนับสนุนของส่วนกลาง อธส.มอบหมายในที่ประชุม Morning Talk เมื่อ 7 ธ.ค. 53 -ให้ สพก.และ ศสท. กำกับดูแลและให้ความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ ในการปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ.2553 โดยแต่งตั้งคณะทำงานขึ้นทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและประสานงานกับจังหวัด/อำเภอ
ความก้าวหน้า แต่งตั้งคณะทำงานฯ -ผอ. สพก. เป็นประธาน -ผชช.ด้านพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร ผู้แทน สพท./ศสท. และ กกจ.เป็นคณะทำงานฯ โดยนายประวิช จรดำ เลขานุการ และนายเอกพงษ์ หนูพลับ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
วิจารณ์ - มาตรา ๔๓ กำหนดให้สภาเกษตรกรแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผนแม่บท พร้อมทั้งรายงานนายกรัฐมนตรี -อำนาจของสภาฯ จะมาจากคุณภาพการมีส่วนร่วมของเกษตรกร -โครงสร้างและที่มาของสมาชิกสภาฯ ซึ่งได้มาจากการเลือกตั้ง ระดับหมู่บ้านน่าจะเอื้อต่อการความเข้มแข็งของสภาเกษตรกร และความเข้มแข็งของสภาเกษตรกร มีโอกาสที่จะส่งผลกระทบ ต่อกรมส่งเสริมการเกษตร
แล้วท่านเอง คิดว่าจะมีส่วนร่วมกับสภาเกษตรกรอย่างไร ?
ขอบคุณ