การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ปลูกผักคะน้าปลอดสารพิษ
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
การปลูกผักในกระถาง คณะผู้จัดทำ.
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การกระตุ้นให้ มัลเบอร์รี่ ( หม่อนพันธุ์ลูกดก ) ออกผล
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
การไถพรวนและเตรียมแปลง ต้องทำการไถพรวนให้ พื้นที่ในแปลงโล่งแจ้ง ปลูกพืชสมุนไพรไล่แมลง ให้ปลูกก่อนที่จะปลูกพืช หลักคือพืชผักต่างๆ ( เสริมกับการป้องกัน.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กำหนดการปฐมนิเทศโครงการเท่ห์กินผัก น่ารักกินผลไม้
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การใช้นมสดเพิ่มคุณภาพพืชผัก
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
นำปุ๋ยคอกบรรจุในกระสอบปุ๋ยจนเต็มกระสอบ
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
การส่งเสริมลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ปลูกในวัสดุปลูกที่มีในท้องถิ่น
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ

ความสำคัญ ปัจจุบันพืชผักต่างๆที่มีจำหน่ายในตลาดมักจะมีสารเคมีตกค้างเกินค่ามาตรฐาน เนื่องจากผู้ผลิตต้องการให้พืชผักมีความอุดมสมบูรณ์ ตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อที่ต้องการพืชผักที่ไม่มีร่องรอยการทำลายของโรคและแมลงศัตรูพืช

ความสำคัญ ผักคะน้าเมื่อมีหว่านในแปลงจนมีอายุ 45 วันจึงจะเริ่มรับประทานได้ เมื่อตัดคะน้าหมดแปลงแล้วต้องหว่านใหม่และรอให้มีอายุ 45 วันจึงจะได้รับประทานอีก

ความเป็นมา ทดลองปลูกในแปลงขนาดกว้าง 80 ซม.ยาว 150 ซม.จำนวน 3 แปลง เว้นช่วงระยะเวลาในการปลูกห่างกันแปลงละ 20 วัน เมื่อตัดคะน้าแปลงที่ 1 หมดแล้ว ทำการปลูกใหม่ แปลงที่ 2 จะเริ่มรับประทานได้ เมื่อตัดคะน้าแปลงที่ 2 เสร็จแล้วทำการปลูกใหม่ แปลงที่ 3 จะเริ่มรับประทานได้ เมื่อตัดคะน้าแปลงที่ 3 เสร็จแล้วทำการปลูกใหม่ แปลงที่ 1 จะเริ่มรับประทานได้ ทำให้มีคะน้ารับประทานตลอดปี

วิธีการผลิตคะน้าแบบไว้ตอ 1.ในการตัดคะน้าเพื่อบริโภคครั้งแรกทำการตัดโดยเหลือตอให้มีใบติด 1 – 2 ใบ ทำการพรวนดิน ใส่ปุ๋ยยูเรีย 1 ครั้ง เพื่อเร่งให้คะน้าสร้างยอดใหม่รดน้ำทุกวัน ใช้เวลาประมาณ 30 วัน สามารถที่จะเก็บผลผลิตครั้งที่ 2 ได้อีก 1 ครั้ง

ต้นคะน้าก่อนตัด

ตัดให้เหลือใบ 2 – 3 ใบ

หลังจาดตัดประมาณ 7 วันจะมีหน่อแตกข้างใบ

หลังจากตัดประมาณ 10 วัน

หลังจากตัด ประมาณ 30 วัน

วิธีการผลิตคะน้าแบบไว้ตอ 2.ในการตัดคะน้าครั้งที่ 2 ปฏิบัติเช่นเดียงกับครั้งที่ 1 คือพรวนดิน ใส่ปุ๋ยยูเรีย รดน้ำทุกวันใช้เวลาประมาณ 30 วัน สามารถที่จะเก็บผลผลิตครั้งที่ 3 ได้อีก 1 ครั้ง

วิธีการผลิตคะน้าแบบไว้ตอ 3.ในการตัดคะน้าครั้งที่ 2 ปฏิบัติเช่นเดียงกับครั้งที่ 1 คือพรวนดิน ใส่ปุ๋ยยูเรีย รดน้ำทุกวันใช้เวลาประมาณ 30 วัน สามารถที่จะเก็บผลผลิตครั้งที่ 3 ได้อีก 1 ครั้ง

วิธีการผลิตคะน้าแบบไว้ตอ 4.เมื่อเก็บคะน้าครั้งที่ 2 แล้วเริ่มปลูกใหม่คะน้าแปลงใหม่ (โดยการเพาะกล้าคะน้าไว้ล่วงหน้าประมาณ 20 -30 วัน)

วิธีการผลิตคะน้าแบบไว้ตอ 5. หลังจากเก็บเกี่ยวคะน้าครั้งที่ 3 เสร็จแล้วผักคะน้าแปลงใหม่จะเริ่มตัดไปบริโภคได้พอดี

การปลูกแบบหมุนเวียน แปลงที่ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 6 1 45 105 165 225 285 345 2 60 120 180 240 300 3 75 135 195 255 315 4 90 150 210 270 330

การปลูกแบบไว้ตอ แปลงที่ ปลูก (วัน) เก็บ 1 เก็บ 2 เก็บ 3 1 45 70 90 2 115 140 165 3 185 210 235 4 255 280 305 325 350 375