การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ไข้เลือดออก.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คปสอ.เมืองปาน.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
สรุปการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน

ข้อมูลทั่วไปจังหวัดน่าน สปป.ลาว พื้นที่ทั้งหมด 1,472.07 ตร.กม. พท.อันดับที่ 16 ของประเทศ จำนวน ปชก. อันดับที่ 52 ของประเทศ อาณาเขตติดกับ สปป.ลาว ระยะทาง 277 กม. ปชก.ชาย 240,021 คน ปชก.หญิง 235,709 คน รวม 475,730 คน พะเยา 15 อำเภอ 99 ตำบล 889 หมู่บ้าน 143,489 หลังคาเรือน สปป.ลาว 28 ชุมชนเขตเมือง 1 เทศบาลเมือง 15 เทศบาลตำบล 1 อบจ. 83 อบต. แพร่ อุตรดิตถ์

ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข รพท. 523 เตียง 1 แห่ง รพร. 90 เตียง 1 แห่ง รพช. 60 เตียง 1 แห่ง รพช. 30 เตียง 10 แห่ง รพช. 10 เตียง 1 แห่ง รพ.ค่ายสุริยะพงษ์ 1 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาล 1 แห่ง รพสต. 123 แห่ง สสช. 24 แห่ง แพทย์ 111 คน ทันตแพทย์ 47 คน เภสัชกร 65 คน พยาบาล 995 คน นวก.สาธารณสุข 280 คน เจ้าพนักงานสาธารณสุข 154 คน อาสาสมัครสาธารณสุข 11,199คน

ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ กลุ่มโรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม ปอดอักเสบ AIDS วัณโรคระยะแพร่เชื้อ อาหารเป็นพิษ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตวาย โรคมะเร็ง และปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มโรคไม่ติดต่อทั่วไป ได้แก่ โรคขาดสารไอโอดีน ภาวะสารพิษตกค้างในเกษตรกร อุบัติเหตุขนส่ง

สาเหตุการตาย 1 - 10 อันดับแรก จ. น่าน ปี 2547 – 2553 สาเหตุการตาย 1 - 10 อันดับแรก จ. น่าน ปี 2547 – 2553 อัตรา/แสน 5

สาเหตุการตาย จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ. น่าน ปี 2547 – 2553 อัตรา/แสน 6

อัตราป่วยต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ อัตราป่วยต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ. น่าน ปี 2550 – 2553

อัตราป่วยโรค Pneumonia จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

อัตราป่วยโรค Influenza จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

อัตราป่วยโรค Food poisoning จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

อัตราป่วยโรค Tuberculosis จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

ร้อยละการตรวจพบ(Detection rate) ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ จำแนกรายโรงพยาบาล จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2554 เป้าหมาย 70%

อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรค

ผลการดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน ปี 2554

การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค 1. แต่งตั้งคณะกรรมการอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับจังหวัด / อำเภอ 2. ประชุมชี้แจงอำเภอและติดตามในการประชุมคณะกรรมการวางแผน ประเมินผล 3. อบรมทีมวิทยากรจังหวัด/อำเภอ(SRRT) 15 อำเภอ 4. อบรมทีมตำบล (SRRT) 40 รพ.สต. และทีมอำเภอ ดำเนินการขยายผลให้ครอบคลุมในพื้นที่ระดับตำบล 5. ประชุมชี้แจงอำเภอเป้าหมาย คืออำเภอเวียงสากับอำเภอปัว 6.นิเทศติดตามอำเภอ ร่วมกับทีมนิเทศระดับจังหวัด -ทีมผู้บริหาร,ทีมเฉพาะกิจ

เป้าหมาย ปี 2554 อำเภอThe must - อำเภอเวียงสา อำเภอ The best - อำเภอปัว

ประเมินคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ครั้งที่ 1 แบบประเมินตนเอง โดย ประธาน คณะกรรมการสุขภาพระดับอำเภอหรือสาธารณสุข อำเภอ ครั้งที่ 2 ประเมินตนเองผ่าน เว็บไซต์ ประเมินคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง 5 ด้าน ดังนี้ คณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี การวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม ผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตาม นโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นที่

ผลการประเมินตนเองครั้งที่ 1 แยกรายอำเภอ จ.น่าน ผ่านเกณฑ์ 40คะแนน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 66.66

ผลการประเมินตนเองครั้งที่ 2 แยกรายอำเภอ จ.น่าน ผ่านเกณฑ์ 40 คะแนน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100

ปัจจัยความสำเร็จ ทุนเดิมของระบบสาธารณสุขจังหวัดน่านที่มีชุมชนเป็นฐาน การสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย อปท./อสม./องค์กรภาครัฐ ชุมชนมีส่วนร่วมและมีแนวทางชัดเจนโดยใช้ SRM./SLM

ปัญหา/ส่วนขาด กลไกการสนับสนุนอำเภอของจังหวัด (สสจ.ฝ่ายเลขาฯ) งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานอำเภอ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียนระดับจังหวัด 21

ปัญหาอุปสรรคและสิ่งต้องการสนับสนุน ความไม่พร้อมของ อปท. ในบางแห่ง (บุคลากร/งบประมาณ) การพัฒนาองค์ความรู้การป้องกันควบคุมโรคของ อปท. การพัฒนาทีม SRRT.ตำบลอย่างต่อเนื่อง งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียนระดับจังหวัด/เขต

สวัสดี... 23