โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
Thailand Research Expo
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Myasthenia Gravis.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
โรคเบาหวาน Diabetes.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง นพ.อัศวิน รุ่งพัฒนกิจชัย โรงพยาบาลเสนา จ.พระนครศรีอยุธยา

โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1.เบาหวาน 2.ความดันโลหิตสูง

สาเหตุของโรคไตเรื้อรัง Thailand Renal Replacement Therapy Registry 2004 Report สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย

โรคไตจากเบาหวาน

ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน 1.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากระดับน้ำตาลในเลือดโดยตรง 2.ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานทำลายอวัยวะต่างๆ - หัวใจและหลอดเลือด - ตา - ไต - สมองและระบบประสาทส่วนปลาย

ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน 1.การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ 2.กระเพาะปัสสาวะไม่ทำงานจากระบบประสาทบกพร่อง 3.โรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน

โรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน แบ่งเป็น 5 ระยะ 1.ไตทำงานมากขึ้น ยังไม่มีอาการผิดปกติ 2.มีการรั่วของโปรตีนปริมาณเล็กน้อยในปัสสาวะเป็นครั้งคราว 3.มีการรั่วของโปรตีนปริมาณเล็กน้อยในปัสสาวะตลอดเวลา 4.ไตเริ่มทำงานผิดปกติ พบการรั่วของโปรตีนปริมาณมากในปัสสาวะ 5.ไตวาย มีอาการชัดเจน เช่น อ่อนเพลีย เหนื่อย บวม

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน 1.การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ดี 2.การควบคุมความดันโลหิตสูงไม่ดี 3.การมีระดับไขมันในเลือดสูง 4.การสูบบุหรี่

สิ่งกระตุ้นให้ไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว 1.การติดเชื้อ 2.การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ 3.ยาที่มีพิษต่อไต เช่น ยาแก้ปวด ยาสมุนไพร

การตรวจหาโรคไตจากเบาหวาน 1.การตรวจปัสสาวะวิธีมาตรฐาน (UA) 2.การตรวจปัสสาวะพิเศษเพื่อหาโปรตีนไมโครอัลบูมิน (microalbumin) 3.การตรวจวัดการทำงานของไตที่เหลืออยู่ (ครีอะตินีน - Cr)

อาการโรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน 1.ซีด 2.บวม 3.ความดันโลหิตสูง 4.เบื่ออาหาร น้ำหนักลด คันตามตัว 5.อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน 6.พบอาการจากภาวะแทรกซ้อนระบบอื่นร่วมด้วย เช่น ชาปลายมือปลายเท้า ตามัว

โรคไตจากความดันโลหิตสูง

ความดันโลหิตสูงมีผลต่อสมอง หัวใจ ตา และไต

อันตรายของความดันโลหิตสูงต่อไต ความดันโลหิตสูงอาจเป็นได้ทั้งสาเหตุ หรือเป็นอาการแสดงของโรคไตจากเหตุอื่นก็ได้ 1.อันตรายที่เกิดช้าๆ ผนังหลอดเลือดหนาตัว เนื้อไตขาดเลือด ไตเสื่อม 2.อันตรายฉับพลัน เกิดจากความดันโลหิตสูงรุนแรง ทำให้ไตวายเฉียบพลัน ปัสสาวะออกน้อยลง

ผลเสียของความดันโลหิตสูงต่อโรคไตเรื้อรัง 1.เป็นตัวเร่งให้การทำงานของไตเสื่อมลงเรื่อยๆ ทำให้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงไตตีบตัน ความดันในเส้นเลือดฝอยไตสูง และมีโปรตีนรั่วออกมาทางปัสสาวะ ทำให้เยื่อบุหลอดไตฝอยเสื่อม จนเกิดอาการของโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย 2.ส่งเสริมให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือดมากขึ้น ได้แก่ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจล้มเหลว เป็นต้น

การตรวจโรคไตจากความดันโลหิตสูง 1.การตรวจปัสสาวะเพื่อดูเม็ดเลือด และการรั่วของโปรตีน 2.การตรวจการทำงานของไต ตรวจหาค่าครีอะตินีน

การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อลดความดันโลหิต A Alcohol: งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ B Body weight: ลดน้ำหนักตัวลง C Cigarette: งดสูบบุหรี่ D Diet: การลดอาหารเค็ม E Exercise: ออกกำลังกาย